dc.contributor.author |
นามวงษ์, ผศ.ดร. ศิริลักษณ์ |
|
dc.date.accessioned |
2018-09-18T09:24:13Z |
|
dc.date.available |
2018-09-18T09:24:13Z |
|
dc.date.issued |
2018-09-18 |
|
dc.identifier.uri |
http://hdl.handle.net/123456789/503 |
|
dc.description |
งานวิจัยงบประมาณรายได้แผ่นดิน ปีงบประมาณ 2560 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
th_TH |
dc.description.abstract |
แผนงานวิจัย การใช้ดอกดาวเรืองเหลือทิ้งเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดและเพิ่มมูลค่า คือ
การลดปริมาณดอกดาวเรืองเหลือทิ้งในชุมชน โดยการน ามาแปรรูปเป็นนวัตกรรมใหม่เพื่อเพิ่มมูลค่า
สร้างผลิตภัณฑ์จากวัสดุธรรมชาติที่มีความเป็นเอกลักษณ์ของท้องถิ่น เพื่อการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน
เช่น สร้างวัสดุที่มีคุณสมบัติเร่งปฏิกิริยาการย่อยลายสีย้อมผ้าสังเคราะห์ การผลิตกระดาษก าจัดกลิ่น
และผลิตภัณฑ์ไล่ยุง
โครงการย่อยภายใต้แผนงานวิจัยมีทั้งหมด 3 โครงการ ได้แก่ (1) ผลิตภัณฑ์ไล่ยุงจาก
ดาวเรือง (2) การผลิตวัสดุก าจัดสีย้อมผ้าที่สามารถใช้ซ้ าได้(3) การผลิตกระดาษก าจัดกลิ่นจากดอก
ดาวเรือง การศึกษาวิจัยครั้งนี้มีระยะเวลา 2 ปีด าเนินการวิจัยในระดับห้องปฏิบัติการด าเนินการที่
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
ผลการด าเนินงาน สามารถผลิตผลิตภัณฑ์3 ชนิด คือ ผลิตภัณฑ์ไล่ยุงจากดาวเรือง กระดาษ
สาผสมดาวเรืองและผงถ่าน และ ตัวเร่งปฏิกิริยาชีวภาพที่สามารถใช้ซ้ าได้ผลิตภัณฑ์ชนิดแรก คือ
ผลิตภัณฑ์ไล่ยุงจากดาวเรือง ใช้สารสกัดชั้นเอทานอล ซึ่งสามารถไล่ยุงได้นาน 2 ชั่วโมง ผลิตผลิตภัณฑ์
ไล่ยุงจากดาวเรืองได้น ามาแสดงในงานสุนันทาวิชาการ ผลิตภัณฑ์ที่สอง คือ กระดาษก าจัดกลิ่นจาก
ดอกเรือง ปีที่ 1 ได้กระดาษกกผสมดาวเรือง (กก ต่อ ดาวเรือง, 70 : 30) ค่าความขาวสว่าง (L*)
90.36 ความเรียบ 2.20 วินาที-เบคค์(s-BEKK) ค่าดัชนีต้านแรงฉีกขาด 9.18 นิวตัน–ตารางเมตร ต่อ
กิโลกรัม (N-m2 /Kg) ปีที่ 2 ได้กระดาษสาผสมดาวเรืองและผงถ่านกัมมันต์ โดยสาท าให้ผงถ่านกัม
มันต์ติดที่เยื่อกระดาษ อัตราส่วนสากับดาวเรือง เท่ากับ 70:30 น าเยื่อกระดาษ 300 กรัม ผสมกับผง
ถ่านกัมมันต์ 100 กรัม ได้กระดาษมีสีด า ผลิตภัณฑ์ที่สาม คือ ตัวเร่งปฏิกิริยาชีวภาพที่สามารถใช้ซ้ า
ได้ ปีที่ 1 ได้พบแบคทีเรียชอบเค็มสายพันธุ์ที่สามารถฟอกจางสีน้ าเงินได้ คือ C15-2 และ SR5-3aw
น าเซลล์ไปตรึงกับ 1 เปอร์เซนต์ อัลจิเนต และ 2.5 เปอร์เซนต์ เจลาติน โดยเซลล์ตรึงภาพสามารถใช้
ซ้ าได้ 4 รอบ ที่ pH 7.2 และ อุณหภูมิ 37 องศาเซลเซียส ปีที่ 2 พัฒนาตัวเร่งปฏิกิริยาชีวภาพเพื่อลด
การรั่วของเซลล์ออกจากเม็ดบีด โดยใช้ เจลาติน : อัลจิเนต : ไคโตซาน เท่ากับ 1:1:1 การน าเซลล์ตรึง
รูปกลับมาใช้ซ้ าส าหรับการฟอกจางสีน้ าเงิน (Cationic blue 41) ได้ 3 รอบ และการฟอกจางสีแดง
(Red 46) เฉพาะเซลล์ตรึงรูปของ C15-2 สามารถน ากลับมาใช้ได้ 4 ครั้ง และสร้างตัวเร่งปฏิกิริยาเคมี
(Fe/P) โดยใช้สีย้อมผ้าที่ความเข้มข้นเริ่มต้นที่ 20 ppm พบว่าสภาวะที่เหมาะสมในการย่อยสลายสี
ย้อม cationic blue 41 ด้วยตัวเร่ง Fe/P คือ ความเข้มข้นเริ่มต้นสีย้อม 20 ppm เติมไฮโดรเจนเปอร์
ออกไซด์ 1 mL อุณหภูมิ 50 C ภายในเวลา 180 นาทีการใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาเคมีมีแนวโน้มจะ
สามารถน าไปใช้ได้ในระบบบ าบัดน้ าเสียที่มีสีย้อมเป็นองค์ประกอบได้ |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.relation.ispartofseries |
งานวิจัย 2560; |
|
dc.subject |
ดาวเรือง การเพิ่มมูลค่า กระดาษก าจัดกลิ่น ผลิตภัณฑ์ไล่ยุ่ง ตัวเร่งปฏิกิริยาชีวภาพ |
th_TH |
dc.title |
การใช้ดอกดาวเรืองเหลือทิ้งเพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดและเพิ่มมูลค่า |
th_TH |
dc.type |
Article |
th_TH |