Title:
|
การจัดการน ้าเสียบนฐานข้อมูลออนไลน์แบบชุมชนมีส่วนร่วม ในพื นที่ต้าบลบางบัวทอง จังหวัดนนทบุร |
Author:
|
ธาราสวัสดิ์พิพัฒน, รองศาสตราจารย์ชัยศรี
|
Abstract:
|
งานวิจัยนี มีวัตถุประสงค์ เพื่อส้ารวจ ตรวจสอบ แหล่งก้าเนิดน ้าเสีย และคุณภาพน ้าในคลอง
จุดปล่อยน ้าเสียลงสู่คลอง 2 แห่ง คือ คลองสามวัง และคลองก้านันเทียน ที่สามารถน้ามาเป็นข้อมูล
ในการก้าหนดแนวทางในการออกแบบระบบการจัดการน ้าในคลอง ท้าการออกแบบระบบการจัดการ
น ้าเสียคลองสามวังและคลองก้านันเทียน โดยมุ่งเน้น การใช้พลังงานจากธรรมชาติและศึกษาหา
ประสิทธิภาพของระบบการจัดการน ้าเสียคลองสามวังและคลองก้านันเทียน ที่ออกแบบโดยมุ่งเน้น
การใช้พลังงานจากธรรมชาติมาช่วยในการบ้าบัด โดยด้าเนินการวิจัยตั งแต่การส้ารวจ ตรวจวิเคราะห์
ร่วมออกแบบ เสนอแนะแนวทางการเลือกเทคโนโลยีช่วยบ้าบัดโดยใช้พลังงานจากธรรมชาติร่วม
ติดตั งระบบทดลองสาธิตการบ้าบัดน ้าเสียในพื นที่จริง พร้อมตรวจสอบประสิทธิภาพ และการจัดการ
อบรมเผยแพร่ ให้แก่ชุมชนและส่วนงานที่เกี่ยวข้องในพื นที่ ผลการวิจัย พบว่าคุณภาพน ้าในคลองทั ง
2 มีคุณภาพด้อยกว่ามาตรฐานคุณภาพน ้าผิวดินประเภท 2-3 ตามประกาศคณะกรรมการสิ่งแวดล้อม
แห่งชาติ ฉบับที่ 8 (พ.ศ. 2537) ออกตามความในพระราชบัญญัติส่งเสริมและรักษาคุณภาพ
สิ่งแวดล้อมแห่งชาติ พ.ศ. 2535 โดยพบว่ามีค่าเฉลี่ยของปริมาณออกซิเจนละลายน ้า ค่าบีโอดี และ
ปริมาณน ้ามันและไขมันเท่ากับ 0.45-0.60 , 77.48-92.29 , และ 32.50-96.9 มิลลิกรัมต่อลิตร และ
จากการทดสอบประสิทธิภาพของระบบบ้าบัดน ้าเสียโดยใช้พลังงานจากธรรมชาติร่วมด้วยพบว่า
สามารถลดค่าความสกปรกในรูปของของค่าน ้ามันและไขมัน ค่าบีโอดีได้ ปริมาณของแข็งละลาย
ทั งหมด สูงสุดร้อยละ 94.26 71.93 และ54.09 ตามล้าดับ และสามารถเพิ่มปริมาณออกซิเจนใน
แหล่งน ้าเพิ่มขึ นจาก 0.88 มิลลิกรัมต่อลิตรเป็นเฉลี่ย 3.98 มิลลิกรัมต่อลิตร ซึ่งเพียงพอต่อการลดการ
เกิดปฏิกิริยาชีวเคมีของจุลินทรีย์กับสารอินทรีย์ในสภาวะไร้อากาศได้ ท้าให้น ้าในแหล่งน ้ามีลักษณะใส
ขึ น โดยมีข้อเสนอแนะแนวทางการการฟื้นฟูแหล่งน ้า2 แหล่งนี คือ ต้องลดค่าความสกปรก(Organic
Loading) ที่ไหลลงสู่คลองจากแหล่งก้าเนิดในพื นที่ โดยหมู่บ้าน และชุมชนที่อาศัยอยู่ริม 2 ฝั่งคลอง
ควรมีระบบบ้าบัดน ้าเสียที่เหมาะสม ประกอบด้วย ระบบดักไขมัน ระบบบ้าบัดเฉพาะที่ และระบบ
บ้าบัดน ้าเสียแบบรวมจุด และจ้าเป็นต้องมีกระบวนการสร้างความเข้าใจเรื่องการจัดการน ้าเสีย โดย
ผ่านการอบรมให้ความรู้จากหน่วยงานส่วนท้องถิ่นเป็นระยะๆ และควรจัดให้มีการเฝ้าระวัง ด้าน
คุณภาพน ้าในรูปแบบของการจัดกิจกรรมในชุมชนอย่างต่อเนื่อง |
Description:
|
งานวิจัยงบประมาณแผ่นดิน ปีงบประมาณ 2559 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
URI:
|
http://hdl.handle.net/123456789/863
|
Date:
|
2018-10-04 |