Information Retrieval Systems of Research Institute at Saun Sunandha Rajabhat University >
งานวิจัยปีงบประมาณ 2561 >
งานวิจัยภาษาไทย >
แหล่งทุนภายใน ปีงบประมาณ 2561 >
Please use this identifier to cite or link to this item:
http://hdl.handle.net/123456789/1564
|
Title: | ป ญหาและแนวทางการพัฒนาการบริหารงานพัสดุของผู!ปฏิบัติงานพัสดุ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
Authors: | ชิดชอบ, นายพลกฤษณ์ กมลสาร, นายกฤษดา |
Issue Date: | 4-Feb-2019 |
Series/Report no.: | งานวิจัยปี 2561; |
Abstract: | ขององค์กร ทั้งในองค์กรขนาดเล็กจนถึงองค์กรขนาดใหญ่ จำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องมีการบริหารงาน
พัสดุที่มีประสิทธิภาพและมีประสิทธิผล ความสำคัญของพัสดุระดับประเทศนั้น รัฐบาลได#ให#ความสำคัญโดย
วางระเบียบเป.นแนวเดียวกันทั่วประเทศ เรียกว9า “ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว9าด#วยการพัสดุ พ.ศ. 2535
และที่แก้ไขเพิ่มเติม” ซึ่งสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา ได้ให้ความสำคัญกับการบริหารงานพัสดุโดย
กำหนดให้จัดทำโครงการอบรมความรู้ความเข#าใจเกี่ยวกับระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว9าด#วยการพัสดุ พ.ศ.
2535 และที่แก#ไขเพิ่มเติม เพื่อให#บุคลากรได#นำไปใช#ในการปฏิบัติงานด#านการพัสดุได#อย9างถูกต#องและมี
ประสิทธิภาพ (สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา, กรกฎาคม 2553)
เพื่อให#ผู#ปฏิบัติงานด#านพัสดุในหน9วยงานของรัฐ ซึ่งหมายถึง ผู#มีอำนาจหน#าที่ดำเนินการเกี่ยวกับ
การจัดหา การซื้อ การจ#าง การจ#างที่ปรึกษา การจ#างออกแบบและควบคุมงาน การแลกเปลี่ยน การเช9า การ
ควบคุม การจำหน9าย และการดำเนินการอื่น ๆ ที่กำหนดไว#ในกฎหมาย ระเบียบ และข#อบังคับว9าด#วยการ
พัสดุ ความสำนึกในการปฏิบัติงานและการพัฒนางานด#านพัสดุในหน9วยงานของรัฐ และเพื่อให#สอดคล#องกับ
บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญแห9งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2540 มาตรา 77 จึงเห็นสมควรกำหนดให#มี
จรรยาบรรณของผู#ปฏิบัติงานด#านพัสดุ เพื่อเป.นแนวทางในการปฏิบัตินอกจากการประพฤติปฏิบัติตาม
จรรยาบรรณที่หน9วยงานของรัฐแต9ละแห9งได#กำหนดไว#แล#ว
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เป.นหน9วยงานหนึ่งที่ได#ใช#ระเบียบสำนัก
นายกรัฐมนตรีว9าด#วยการพัสดุเป.นแนวทางในการปฏิบัติราชการ ซึ่งในป จจุบันประสบป ญหาในการปฏิบัติงาน
ในด#านพัสดุหลายประการ ผู#วิจัยจึงมีความสนใจในการทำวิจัยเรื่อง ป ญหาและแนวทางการพัฒนาการ
บริหารงานพัสดุของผู#ปฏิบัติงานพัสดุบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา เพื่อผลักดันการ
ปฏิบัติงานให#เกิดการพัฒนา และเกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู# แนวปฏิบัติที่ดีร9วมกันระหว9างหน9วยงานและ
ผู#ปฏิบัติงานพัสดุสาขาวิชา ก9อให#เกิดการจัดความรู# การแก#ป ญหา เพื่อพัฒนาหน9วยงานและนำไปใช#อย9างมี
ประสิทธิภาพ บุคลากรที่ปฏิบัติงานด#านพัสดุของหน9วยงาน ได#รับมอบหมายให#ปฏิบัติ แต9ไม9ได#รับการ
2
ฝ`กอบรมเฉพาะด#านทำให#ไม9มีความรู# ความเข#าใจ เกี่ยวกับกฎระเบียบและวิธีปฏิบัติที่ถูกต#อง พัสดุเป.นเรื่องที่
สำคัญอย9างหนึ่งในการจัดการงาน เพราะเป.นงานบริการที่ฝ่ายต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องจะต#องมาใช#บริการตัวพัสดุ
เป็นปัจจัยสนับสนุนการปฏิบัติงานให#บรรลุวัตถุประสงคHตามที่สถานศึกษาวางไว# ความบกพร9องของการพัสดุ
จึงมีผลกระทบต9อการบริหารงานทั้งหลายด#วย
ดังนั้น ผู#ปฏิบัติงานหรือผู#มีหน#าที่เกี่ยวข#องกับการพัสดุ โดยเฉพาะในส9วนที่เกี่ยวกับการจัดซื้อจัด
จ#าง จึงมีความจำเป.นอย9างยิ่งที่จะต#องมีความรู# เกี่ยวกับระเบียบและกฎหมายที่เกี่ยวข#องให#ลึกและชัดเจน
รัฐบาลจึงได#มีการปรับปรุงแก#ไขระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว9าด#วยการพัสดุให#ทันสมัยและรัดกุมยิ่งขึ้น
ตลอดเวลา ระเบียบสำนักนายกรัฐมนตรีว9าด#วยการพัสดุเป.นระเบียบ กฎหมายที่ข#าราชการและผู#เกี่ยวข#องทุก
คนจะต#องถือปฏิบัติให#ถูกต#องครบถ#วนตามวิธีการที่กำหนดไว#ทุกประการ และหากมีการปฏิบัติผิดพลาด หรือ
ผิดระเบียบกฎหมายแล#วผู#เกี่ยวข#องจะต#องรับผิดชอบความผิดพลาดที่เกิดขึ้น ซึ่งอาจจะต#องโทษทั้งคดีอาญา
คดีแพ9ง และโทษทางวินัยแล#วแต9กรณีอีกด#วย
การจัดการงานพัสดุ เป.นกระบวนการจัดการที่มีการดำเนินงานหลายขั้นตอน ซึ่งต9อเนื่องกันเป.น
วงจรด#านการจัดหา ด#านการจัดทำแผนการจัดซื้อ/จัดจ#างประจำป2 ด#านการกำหนดคุณลักษณะเฉพาะ ด#าน
การดำเนินการจัดหาพัสดุ ด#านการตรวจรับพัสดุ ด#านการควบคุมดูแลรักษาพัสดุ และด#านการจำหน9ายพัสดุ
ซึ่งเป.นขั้นตอนสุดท#าย ผู#วิจัยในฐานะที่ปฏิบัติงานอยู9 จึงมีความสนใจที่จะศึกษาวิจัยในหัวข#อดังกล9าวเพื่อให#
ทราบถึงสภาพปัญหาการจัดการงานพัสดุ ตลอดจนแนวทางการพัฒนาการจัดการงานพัสดุ และนำ
ผลการวิจัยที่ได#รับมาพัฒนาการจัดการงานพัสดุ ให#มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลยิ่งขึ้น |
Description: | งานวิจัยงบประมาณรายได้มหาวิยาลัย ปีงบประมาณ2561 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
URI: | http://hdl.handle.net/123456789/1564 |
Appears in Collections: | แหล่งทุนภายใน ปีงบประมาณ 2561
|
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.
|