dc.contributor.author |
มณีเนตร, ปิติ |
|
dc.creator |
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
TH |
dc.date.accessioned |
2015-06-20T07:23:03Z |
|
dc.date.available |
2015-06-20T07:23:03Z |
|
dc.date.issued |
2015-06-20 |
|
dc.identifier.issn |
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
|
dc.identifier.uri |
http://hdl.handle.net/123456789/243 |
|
dc.description |
งานวิจัยงบประมาณรายได้มหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2554 มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา |
th_TH |
dc.description.abstract |
สถาปัตยกรรมพื้นถิ่นเป็นองค์ประกอบสาคัญของสังคมไทย บ่งบอกถึงศิลปะและวิวัฒนาการของผู้คนในชุมชน การเล็งเห็นถึงคุณค่าของอัตลักษณ์วิถีชีวิตของชุมชนตลาดเก่าศาลายา ที่จะศึกษาวิจัยในผ่านบริบทเฉพาะตัวของชุมชนในอดีตจนถึงปัจจุบัน นามาวิเคราะห์ ผ่านสถาปัตยกรรมภายใน เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับท้องถิ่น สร้างทิศทางที่ชัดเจน และเป็นแบบอย่างให้กับสังคมอื่นๆ ท่ามกลางยุคสมัยของวัฒนธรรมต่างชาติ ที่หลั่งไหลเข้ามาสู่ประเทศไทย
การวิจัยนี้เป็นการศึกษาถึงพัฒนาการของงานสถาปัตยกรรมภายในของชุมชนตลาดเก่าศาลายา ด้วยแนวคิดการบูรณะและอนุรักษ์ เรือนดั้งเดิม ปัจจัยแวดล้อมที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงของงานสถาปัตยกรรมภายใน จากแนวคิดของงานวิจัยสนับสนุนให้ประชากรในชุมชนฯ เกิดการตระหนักถึงคุณค่าของทุนทางสังคมและอัตลักษณ์ของเรือนพื้นถิ่น งานวิจัยจะดาเนินการจากการประชุมกลุ่มย่อยกับชาวบ้าน พร้อมทั้งเก็บข้อมูลจากการสัมภาษณ์บุคคลสาคัญในชุมชน และจากศึกษากรณีที่ได้คัดเลือก เพื่อวิเคราะห์ถึงรูปแบบของสถาปัตยกรรมภายในตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบัน
ผลการวิจัยพบว่าปัจจัยที่ทาให้เกิดการเปลี่ยนของสถาปัตยกรรมภายภายในของชุมชน คือ การเปลี่ยนแปลงทางสังคม การคมนาคม การเกิดขึ้นของตลาดแห่งใหม่ ส่งผลให้ชุมชนเกิดความซบเซา และประสบปัญหาด้านการท่องเที่ยว ด้วยความไม่เจตนาของชาวบ้านที่ต้องการจะพัฒนาบ้านเรือนตนเองให้มีความสะดวกสบาย เหมือนอย่างชุมชนบริเวณใกล้เคียงกัน โดยที่ลืมนึกถึงรากเหง้าของชุมชน คุณค่าทางสถาปัตยกรรมทั้งภายในที่เป็นเอกลักษณ์ ทาให้สิ่งที่กล่าวมาค่อยๆ สูญหายไปตามกาลเวลา การฟื้นฟูชุมชนตลาดเก่าศาลายาให้กับมาสู่ชุมชนเพื่อการท่องเที่ยวนั้น จาเป็นต้องเสริมสร้างความเข้าใจให้ชาวบ้านมีความตระหนักในคุณค่าของเรือนพื้นถิ่น พร้อมทั้งให้ชาวบ้านเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข้อมูลของชุมชนสู่สาธารณะ การดารงไว้ซึ่งรากเหง้าทางวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น อัตลักษณ์ จึงจะทาให้ชุมชนตลาดเก่าศาลายากลับมาเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่สาคัญของจังหวัดนครปฐม |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
TH |
dc.relation.ispartofseries |
งานวิจัยปี 2554; |
|
dc.source |
TH |
TH |
dc.subject |
อัตลักษณ์สถาปัตยกรรมภายในร่วมสมัย |
th_TH |
dc.subject |
ชุมชนริมคลองมหาสวัสดิ์ |
th_TH |
dc.subject |
จังหวัดนครปฐม |
th_TH |
dc.title |
อัตลักษณ์สถาปัตยกรรมภายในร่วมสมัย กรณีศึกษา ชุมชนริมคลองมหาสวัสดิ์ ตาบลศาลายา อาเภอพุทธมณฑล จังหวัดนครปฐม |
th_TH |
dc.type |
Article |
th_TH |