dc.contributor.author |
พูนเพชรพันธุ์, พิศณุ |
|
dc.contributor.author |
อยู่วัฒนะ, กมลวรรณ |
|
dc.creator |
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
TH |
dc.date.accessioned |
2015-06-20T08:12:56Z |
|
dc.date.available |
2015-06-20T08:12:56Z |
|
dc.date.issued |
2015-06-20 |
|
dc.identifier.issn |
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
|
dc.identifier.uri |
http://hdl.handle.net/123456789/272 |
|
dc.description |
งานวิจัยงบประมาณรายได้มหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2554 มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา |
th_TH |
dc.description.abstract |
ประเทศไทย ตั้งแต่อดีตที่ผ่านมามีการใช้รัฐธรรมนูญมาแล้วด้วยกันหลายฉบับ โดยแต่ละฉบับการกาหนอโครงสร้างพื้นฐานในการจัดองค์การการบริหารของรัฐธรรมนูญยังไม่สามารถทาให้ระบบการเมืองไทยมีเสถียรภาพและมีประสิทธิภาพรวมถึงมีหลักประกันในการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชนได้อย่างแท้จริง ภายหลังจากการปฏิรูปการเมือง ได้มีการกาหนดและปรับปรุงแก้ไขปัญหาระบบการเมืองทั้งระบบ โดยใช้รัฐธรรมนูญเป็นเครื่องมือที่สาคัญในการกาหนดรูปแบบ การปกครอง และกาหนดกลไกอันเป็นโครงสร้างพื้นฐานในการจัดองค์กรบริหารของรัฐ โดยเริ่มตั้งแต่รัฐธรรมนูญฉบับปี พุทธศักราช 2540 มีการกาหนดโครงสร้างใหม่ๆที่แตกต่างไปจากรัฐธรรมนูญฉบับก่อน จนถึงรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบัน พุทธศักราช 2550 ซึ่งมีเนื้อหาไม่แตกต่างไปจากฉบับปี พุทธศักราช 2540 โดยมีเนื้อหาที่ต้องการเปิดกว้างทางการเมือง ให้ประชาชนมีส่วนร่วมในการปกครองประเทศในระบอบประชาธิปไตยโดยประชาชน เพื่อประชาชนอย่างแท้จริง
ทั้งนี้ ก็เพื่อเป็นการส่งเสริม สนับสนุนให้ รัฐ+องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น+ประชาชน ประสานการดาเนินการ และเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการบริหารงานซึ่งผลประโยชน์ของประชาชน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง บทบัญญัติว่าด้วยสิทธิของประชาชนในการเสนอร่างข้อบัญญัติท้องถิ่น ซึ่งเป็นการให้สิทธิอย่างเต็มที่ และยังเป็นข้อยืนยันให้เห็นภาพของการเปิดโอกาสให้ประชาชนเข้ามามีมีส่วนร่วมที่เป็นรูปธรรมอย่างชัดเจน พร้อมกันนั้นในปัจจุบันยังได้มีการตราพระราชบัญญัติว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอร่างข้อบัญญัติท้องถิ่น พุทธศักราช 2542
สาหรับผลการวิจัย มีบทสรุปและข้อเสนอแนะดังนี้
1. ประเด็นปัญหาในการดาเนินการเรื่องขั้นตอนการพิจารณาข้อบัญญัติท้องถิ่นของสภาท้องถิ่น
2. ประเด็นปัญหาของจานวนประชากรในการเข้าชื่อเสนอข้อบัญญัติท้องถิ่น
3. กระบวนการรูปแบบและขั้นตอนการให้สิทธิประชาชนออกเสียงประชามติรับรองข้อบัญญัติท้องถิ่น
4. การให้คณะกรรมการเลือกตั้งดาเนินการออกเสียงประชามติ ในการรับรองข้อบัญญัติท้องถิ่น
5. ปัญหาความรู้ความเข้าใจของประชาชน ต่อกระบวนการเข้าชื่อเสนอร่างข้อบัญญัติท้องถิ่น
6. ประเด็นปัญหาขั้นตอนของการพิจารณาของสภาท้องถิ่นมิได้กาหนดให้ตัวแทนประชาชนเข้าไปมีส่วนร่วมในการแสดงความเห็น อธิบาย หรือชี้แจงข้อเท็จจริงในสภาท้องถิ่น
ข้อเสนอแนะ
1. ควรจัดให้คณะกรรมการเลือกตั้งเป็นผู้ดาเนินการจัดให้มีการออกเสียงประชามติของประชาชนในท้องถิ่น
2. ควรจัดทาการแก้ไขพระราชบัญญัติว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอข้อบัญญัติท้องถิ่น พุทธศักราช ๒๕๔๒ เกี่ยวกับการยื่นเสนอคาร้องขอ การพิจารณาและการออกเสียงประชามติโดยประชาชนในองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
3. รัฐควรเร่งปฏิรูประบบราชการปกครองส่วนท้องถิ่น ให้มีประสิทธิภาพต่อการปกครองส่วนท้องถิ่นมากขึ้น
4. ควรแก้ไขรัฐธรรมนูญฉบับปัจจุบันในมาตรา 286 และพระราชบัญญัติว่าด้วยการเข้าชื่อเสนอข้อบัญญัติท้องถิ่น พุทธศักราช 2542 ในส่วนของจานวนประชาชนผู้มีสิทธิเลือกตั้งให้มีจานวนหรือเปอร์เซ็นต์น้อยลง
5. ควรให้สิทธิประชาชนในท้องถิ่นออกเสียงรับรองร่างข้อบัญญัติท้องถิ่นที่ไม่ผ่านการพิจารณาของสภาท้องถิ่น โดยใช้จานวนเสียงส่วนใหญ่ของจานวนประชาชนผู้มาลงคะแนนเสียงเห็นด้วย |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
TH |
dc.relation.ispartofseries |
งานวิจัยปี 2554; |
|
dc.source |
TH |
TH |
dc.subject |
การมีส่วนร่วมของประชาชนในการเสนอร่างข้อบัญญัติท้องถิ่นตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย |
th_TH |
dc.subject |
มาตรา 286 กรณีศึกษาชุมชนองค์การบริหารส่วนตาบลบางระกา |
th_TH |
dc.subject |
ตาบลศาลายา ตาบลคลองโยง จังหวัดนครปฐม |
th_TH |
dc.title |
การมีส่วนร่วมของประชาชนในการเสนอร่างข้อบัญญัติท้องถิ่นตามบทบัญญัติรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 มาตรา 286 กรณีศึกษาชุมชนองค์การบริหารส่วนตาบลบางระกา ตาบลศาลายา ตาบลคลองโยง จังหวัดนครปฐม |
th_TH |
dc.type |
Article |
th_TH |