การพัฒนาผลิตภัณฑ์ไอศกรีมสมุนไพร

DSpace/Manakin Repository

การพัฒนาผลิตภัณฑ์ไอศกรีมสมุนไพร

Show simple item record

dc.contributor.author อัคนิจ, นันทพร
dc.creator สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา TH
dc.date.accessioned 2015-06-20T08:40:15Z
dc.date.available 2015-06-20T08:40:15Z
dc.date.issued 2015-06-20
dc.identifier.issn มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
dc.identifier.uri http://hdl.handle.net/123456789/283
dc.description งานวิจัยงบประมาณรายได้มหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2554 มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา th_TH
dc.description.abstract งานวิจัยนีมี้วัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาผลิตภัณฑ์ไอศกรีมสมุนไพร และศึกษาคุณภาพของ ผลิตภัณฑ์ไอศกรีมสมุนไพรที่ผลิตได้ โดยสมุนไพรที่เลือกมาผลิตไอศกรีม ได้แก่ กระเจี๊ยบ พุทรา จีน ตะไคร้ และขิง ซึ่งนามาผลิตเป็นไอศกรีมกระเจี๊ยบพุทราจีน ไอศกรีมตะไคร้ และไอศกรีมขิง โดยมีปริมาณสมุนไพร 4 ระดับ ได้แก่ ร้อยละ 10 20 30 และ 40 พบว่า สูตรที่เหมาะสมที่สุด ในการผลิตไอศกรีมกระเจี๊ยบพุทราจีน ตะไคร้ และขิง คือ สูตรที่ 1 ซึ่งมีปริมาณสมุนไพรร้อยละ 10 ผู้บริโภคให้คะแนนความชอบรวมสูงสุด ไอศกรีมกระเจี๊ยบพุทราจีนมีคุณภาพทางเคมีและ คุณสมบัตทิ างกายภาพดังนี้ คือ ความหนืด 75.4 cp ค่าความเป็นกรดด่าง 3.28 ค่าการขึน้ ฟู ร้อยละ16.47 ค่าความแข็ง 19.32 N มีค่าความสว่าง (L*) ค่าความเป็นสีแดง (a*) และสีเหลือง (b*) คือ 12.88 8.07 และ 0.05 ตามลาดับ และมีอัตราการละลายที่สูงที่สุด ไอศกรีมตะไคร้ มี คุณภาพทางเคมีและคุณสมบัติทางกายภาพ ดังนี้ มีค่าความหนืด 31.60 cp ค่าความเป็นกรด ด่าง 3.16 ค่าการขึน้ ฟู ร้อยละ 38.0 ค่าความแข็ง 297.04 N มีค่าความสว่าง (L*) ค่าความเป็นสี แดง (a*) และสีเหลือง (b*) คือ 96.66 1.55 และ 9.80 ตามลาดับ และมีอัตราการละลายที่สูง ที่สุด ไอศกรีมขิง ให้คุณภาพทางเคมีและคุณสมบัติทางกายภาพ ดังนี้ มีค่าความหนืด 42.40 cp ค่าความเป็นกรดด่าง 6.65 ค่าการขึน้ ฟู ร้อยละ 45.48 ค่าความแข็ง 152.56 N มีค่าความสว่าง (L*) ค่าความเป็นสีแดง (a*) และสีเหลือง (b*) คือ 92.74 5.97 และ23.27 ตามลาดับ และมี อัตราการละลายที่สูงที่สุด เช่นเดียวกับไอศกรีมกระเจี๊ยบพุทราจีน และไอศกรีมตะไคร้ ปริมาณ จุลินทรีย์ทัง้หมดที่พบในผลิตภัณฑ์ไอศกรีมกระเจี๊ยบพุทราจีน ไอศกรีมตะไคร้ และ ไอศกรีมขิง พบว่ามีน้อยกว่า 10 10 และ 2.5x102 cfu/g ตามลาดับ th_TH
dc.description.sponsorship มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา TH
dc.relation.ispartofseries งานวิจัยปี 2554;
dc.source TH TH
dc.subject การพัฒนาผลิตภัณฑ์ไอศกรีม th_TH
dc.subject สมุนไพร th_TH
dc.title การพัฒนาผลิตภัณฑ์ไอศกรีมสมุนไพร th_TH
dc.type Article th_TH


Files in this item

Files Size Format View Description
ird_203-54.pdf 222.1Kb PDF View/Open ปก
ird_203-54 (1).pdf 302.8Kb PDF View/Open บทคัดย่อ
ird_203-54 (2).pdf 362.0Kb PDF View/Open abstract
ird_203-54 (3).pdf 419.9Kb PDF View/Open กิตติกรรมประกาศ
ird_203-54 (4).pdf 331.4Kb PDF View/Open บทที่ 1
ird_203-54 (5).pdf 516.1Kb PDF View/Open บทที่ 2
ird_203-54 (6).pdf 430.9Kb PDF View/Open บทที่ 3
ird_203-54 (7).pdf 530.9Kb PDF View/Open บทที่ 4
ird_203-54 (8).pdf 322.9Kb PDF View/Open บทที่ 5
ird_203-54 (9).pdf 330.4Kb PDF View/Open บรรณานุกรม
ird_203-54 (10).pdf 593.5Kb PDF View/Open ภาคผนวก
ird_203-54 (11).pdf 330.6Kb PDF View/Open ประวัตินักวิจัย

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account