dc.contributor.author |
ยอดกลกิจ, ผศ.ลักขณา |
|
dc.contributor.author |
หงษ์กิตติยานนท์, ดร.ฐิตวันต์ |
|
dc.date.accessioned |
2018-09-20T07:27:42Z |
|
dc.date.available |
2018-09-20T07:27:42Z |
|
dc.date.issued |
2018-09-20 |
|
dc.identifier.other |
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
|
dc.identifier.uri |
http://hdl.handle.net/123456789/574 |
|
dc.description |
งานวิจัยงบประมาณรายได้มหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2558 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
th_TH |
dc.description.abstract |
วัตถุประสงค์การวิจัยเพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างแรงสนับสนุนทางสังคมกับคุณภาพชีวิตและเพื่อทานายปัจจัยที่มีต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยจิตเภท กลุ่มตัวอย่างคือ ผู้ป่วยโรคจิตเภทจานวน 300 คน โดยการเลือกแบบสุ่มแบบง่ายเจาะจงเครื่องมือในการศึกษาคือแบบสอบถามแรงสนับสนุนทางสังคมกับคุณภาพชีวิต ตรวจสอบความตรงเชิงเนื้อหาโดยผู้ทรงคุณวุฒิ และวิเคราะห์ความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม ได้ค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา มากกว่า 0.80 การวิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน และวิเคราะห์การ ถดถอยพหุคูณแบบเป็นขั้นตอน
ผลการศึกษาพบว่า
1. ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (Intercorrelation Coefficient) ระหว่างตัวทานายกับตัวเกณฑ์ พบว่า ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ภายในตัวแปรทานายและคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคจิตเภท(Y) มีความสัมพันธ์ทางบวกทุกตัวแปร
2. ตัวทานายที่ดีในการทานายคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคจิตเภท (Y) ได้แก่ การตอบสนองความต้องการด้านอารมณ์(1X) ความช่วยเหลือด้านข้อมูลข่าวสาร(5X) การมีส่วนร่วม และยอมรับในฐานะส่วนหนึ่งของสังคม(3X) สามารถร่วมกันอธิบายความแปรปรวนของคุณภาพชีวิตของ ผู้ป่วยโรคจิตเภทได้ร้อยละ 43.3 มีค่าความคลาดเคลื่อนมาตรฐานในการทานายเท่ากับ 8.67
3. สมการที่สามารถทานายคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคจิตเภท โดยใช้คะแนนดิบคือ
351/X683.X213.1X920.565.52Y
และสมการที่สามารถทานายคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยโรคจิตเภทโดยใช้คะแนนมาตรฐานคือ
351/ |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.relation.ispartofseries |
งานวิจัยปี2558; |
|
dc.subject |
แรงสนับสนุนทางสังคม,คุณภาพชีวิต,ผู้ป่วยจิตเภท |
th_TH |
dc.title |
พฤติกรรมสุขภาพและพฤติกรรมเสี่ยงต่อสุขภาพของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏ |
th_TH |
dc.type |
Article |
th_TH |