dc.contributor.author |
แสนสุข, นางสาวณัฐสินี |
|
dc.date.accessioned |
2018-09-25T06:24:05Z |
|
dc.date.available |
2018-09-25T06:24:05Z |
|
dc.date.issued |
2018-09-25 |
|
dc.identifier.uri |
http://hdl.handle.net/123456789/654 |
|
dc.description |
งานวิจัยงบประมาณรายได้มหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2558 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
th_TH |
dc.description.abstract |
ผู้สูงอายุเกิดอาการหัวใจหยุดเต้นหรือ หยุดหายใจเป็นได้ง่ายและรวดเร็วมากขึ้นตามอายุที่มากขึ้น สมองจะขาดออกซิเจนและถูกทาลาย การไม่ได้รับการช่วยเหลือเบื้องต้นทาให้เสียชีวิตหรือฟื้นแล้วไม่ปกติดัง เดิม วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาเปรียบเทียบสัญญาณชีพของผู้สูงอายุก่อนและ หลังการกระตุ้นสัญญาณชีพด้วยสองมือตามการแพทย์แผนไทย เป็นการวิจัยเชิงกึ่งทดลอง ใช้ผู้สูงอายุจานวน 37 คน แบบการประเมินสัญญาณชีพผู้สูงอายุ การทดสอบแบบจับคู่เปรียบเทียบ การกดจุดนาน 5 วินาทีและ 10 วินาที ประโยชน์นาไป ใช้ในการปฐมพยาบาลกู้ชีวิตตนเองด้วยสองมือตามหลัก การแพทย์แผนไทยในผู้สูงอายุ ผลการวิจัยพบว่า ผู้สูง อายุส่วนใหญ่อยู่ในช่วงอายุ 60-70 ปีร้อยละ 51.3 อายุเฉลี่ย 70.81 ปี ข้อมูลโดยรวมมีความสัมพันธ์กันระดับปานกลางและทิศทางเดียวกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .01และพบว่ามีความแตกต่างของค่าการวัดสัญญาณชีพหลังกดจุดนาน 10 วินาที ค่าโดยรวม ค่าความดันโลหิตช่วงบน (BPs) และ ค่าอัตราการหายใจ (R) มีค่าสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 สรุปว่าการนวดกดจุด“สัญญาณ 5 ขาด้านใน” ตามการแพทย์แผนไทย กดจุดนาน 10 วินาที มีผลต่อการกระตุ้นสัญญาณชีพมีค่าหลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.relation.ispartofseries |
งานวิจัยปี2558; |
|
dc.subject |
ผู้สูงอายุ การกู้ชีวิตตนเอง การแพทย์แผนไทย เปรียบเทียบ สัญญาณชีพ |
th_TH |
dc.title |
การปฐมพยาบาลด้วยการแพทย์แผนไทย: การช่วยกู้ชีวิตตนเองด้วย สองมือในผู้สูงอายุเปรียบเทียบสัญญาณชีพ |
th_TH |
dc.type |
Article |
th_TH |