dc.contributor.author |
รัตนาวะดี, สุรพันธ์ุ |
|
dc.date.accessioned |
2018-10-02T06:18:53Z |
|
dc.date.available |
2018-10-02T06:18:53Z |
|
dc.date.issued |
2018-10-02 |
|
dc.identifier.other |
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
|
dc.identifier.uri |
http://hdl.handle.net/123456789/772 |
|
dc.description |
งานวิจัยงบประมาณรายได้มหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2559 มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา |
th_TH |
dc.description.abstract |
การนําขยะกลับมาใช้เป็นประเด็นที่ได้รับความสนใจทั้งในวงการอุตสาหกรรม และ วง
การศึกษา ในงานวิจัยชิ้นนี้ผู้วิจัยมุ่งประเด็นในการศึกษาการนําดินตะกอนในกระบวนการบําบัดน้ํา
เสียของอุตสาหกรรมการหล่ออลูมิเนียมและเถ้าแกลบกลับมาใช้ เพื่อทดแทนอลูมิน่าออกไซด์และซิ
ลิก้าออกไซด์สําหรับการสังเคราะห์มัลไรท์เซรามิกส์ โดยทั่วไปมัลไรท์เซรามิกส์ สามารถทนการกัด
กร่อนจากสารเคมีได้ดี มีสมบัติทางกลดี มีค่าการขยายตัวเมื่อร้อนด่ํา (COE) ซึ่งเป็นสมบัติที่มีความ
ต้องการของอุตสาหกรรมเซรามิกส์ มีส่วนประกอบของอลูมิน่าออกไซด์และซิลิก้าเป็นส่วนประกอบ
โดยใช้สูตร (3Al2O3
2SiO2
) มีส่วนผสมของ ดินตะกอนในกระบวนการบําบัดน้ําเสียของอุตสาหกรรม
การหล่ออลูมิเนียม 72% และ เถ้าแกลบ 28% (โดยน้ําหนัก) ผสมตามสูตร บด 1 ชั่วโมง ขึ้นรูป และ
เผาผนึกที่อุณหภูมิตั้งแต่ 1200˚C ถึง 1280˚C ยืนไฟ 1 ชั่วโมง นําไปทดสอบเพื่อหาโครงสร้างผลึก
ด้วย XRD ทดสอบการหดตัวหลังเผา และ ค่าการดูดซึมน้ํา ชิ้นทดสอบผ่านการเผาที่อุณหภูมิ 1280
เริ่มเกิดผลึกมัลไรท์ สามารถสรุปได้ว่ามีแนวโน้มที่จะสังเคราะห์มัลไรท์ได้จากดินตะกอนจากการบําบัด
น้ําเสียในอุตสาหกรรมการหล่ออลูมิเนียมและเถ้าแกลบได้ในอุณหภูมิที่สูง ซึ่งมีประโยชน์กับ
อุตสาหกรรมเซรามิกส์ในประเทศไทย ในแง่ของการใช้วัสดุทดแทน ลดต้นทุน และการอนุรักษ์
สิ่งแวดล้อม |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.relation.ispartofseries |
งานวิจัย 2559; |
|
dc.subject |
ดินตะกอนในกระบวนการบําบัดน้ําเสียของอุตสาหกรรมการหล่ออลูมิเนียม, เถ้า แกลบ, มัลไลท์ |
th_TH |
dc.title |
การใช้อลูมิน่าออกไซด์จากดินตะกอนในกระบวนการบําบัดน้ําเสียของ อุตสาหกรรมการหล่ออลูมิเนียมและซิลิก้าจากเถ้าแกลบเพื่อสังเคราะห์เนื้อ ผลิตภัณฑ์มัลไลท์ |
th_TH |
dc.type |
Article |
th_TH |