DSpace About DSpace Software
 

Information Retrieval Systems of Research Institute at Saun Sunandha Rajabhat University >
งานวิจัยปีงบประมาณ 2556 >
งานวิจัยภาษาไทย >
แหล่งทุนภายใน ปีงบประมาณ 2556 >

Please use this identifier to cite or link to this item: http://hdl.handle.net/123456789/509

Title: การประเมินความแม่นยา Immunochromatogrphic strip test (GPO αTHAL IC strip test) สาหรับวินิจฉัยพาหะโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียชนิดแอลฟา
Authors: สุดเจริญ, ยุทธนา
Keywords: โรคธาลัสซีเมีย, ฮีโมโกลบินผิดปกติ, วิธีตรวจคัดกรอง, พาหะแอลฟาธาลัสซีเมีย
Issue Date: 19-Sep-2018
Publisher: สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
Series/Report no.: งานวิจัย 2556;
Abstract: เพื่อตรวจคัดกรองพาหะธาลัสซีเมียชนิดแอลฟาในหญิงตั้งครรภ์และคู่สามีโดยวิธี immunochromatographic, IC strip test และวิธี one tube osmotic fragility test (OF) จากนั้นตรวจยืนยันพาหะธาลัสซีเมียและฮีโมโกลบินผิดปกติด้วยวิธี Hb typing (high performance liquid chromatography, HPLC)และวิธี multiplex PCR ซึ่งเป็นวิธีมาตรฐาน (gold standard)และประเมินความแม่นยาวิธีการตรวจคัดกรองระหว่าง 2 วิธี วัสดุและวิธีการ: ได้นาตัวอย่างเลือดของหญิงตั้งครรภ์ และคู่สมรสที่ไม่มีอาการของโรคธาลัสซีเมียที่เก็บจานวน 414 ราย ไปตรวจคัดกรองด้วยวิธี OF (KKU-OF) และวิธี IC strip (GPO αTHAL IC strip test) เพื่อหาพาหะแอลฟาธาลัสซีเมีย-1 และเลือดอีกส่วนหนึ่งได้ตรวจยืนยันพาหะธาลัสซีเมียและฮีโมโกลบินที่ผิดปกติโดยวิธี Hb typing (HPLC)และตรวจเพื่อยืนยันแอลฟาธาลัสซีเมีย-1ทั้งชนิด Southeast Asian deletion (SEA) และ Thai deletionด้วยวิธี multiplex PCR ซึ่งใช้เป็นมาตรฐาน ผลการศึกษา: ในจานวนหญิงตั้งครรภ์และคู่สามีจานวน 414รายที่เข้าร่วมการศึกษาพบพาหะแอลฟาธาลัสซีเมียทั้งหมด 27 ราย โดยแบ่งเป็น พาหะthalassemia-1 SEA type (Southeast Asia deletion) จานวน 18 ราย ,Thai type (Thai deletion) จานวน 2 ราย ,SEA type ร่วมกับ Thai type จานวน 2 ราย, Hb H (αthalassemia-1/αthalassemia-2) จานวน 3 รายและ HbCSจานวน 2 รายและพบว่าวิธีIC-strip มีค่าความไวของวิธีค่าความจาเพาะของวิธีค่าทานายผลบวกค่าทานายผลลบ และค่าประสิทธิภาพหรือค่าความถูกต้องของวิธีเท่ากับ 92.6%, 95.1%, 56.8%, 99.4% และ 94.9% ตามลาดับ ซึ่งค่าทั้งหมดสูงกว่าวิธี OF ที่มีค่าความไวของวิธี, ค่าความจาเพาะของวิธี, ค่าทานายผลบวก, ค่าทานายผลลบ และค่าประสิทธิภาพหรือค่าความถูกต้องของวิธีเพียง 55.5%, 92.2%, 33.3%, 96.7% และ 89.8% ตามลาดับ สรุป:วิธี IC strip เป็นวิธีการตรวจคัดกรองที่มีความแม่นยามากกว่าวิธี OFT แต่ไม่สามารถใช้เป็นวิธียืนยันแทนวิธี PCR มีความสะดวกต่อการใช้งานแปลผลง่ายและไม่ต้องการเครื่องมือพิเศษอื่นใดเพิ่มเติมทาให้การตรวจด้วยวิธีนี้น่าจะมีประโยชน์โดยเฉพาะการคัดกรองในกลุ่มประชากรจานวนมาก
Description: งานวิจัยงบประมาณรายได้มหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ2556 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
URI: http://hdl.handle.net/123456789/509
ISSN: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
Appears in Collections:แหล่งทุนภายใน ปีงบประมาณ 2556

Files in This Item:

File Description SizeFormat
0_ปก.pdfปก344.5 kBAdobe PDFView/Open
1_บทคัดย่อ.pdfบทคัดย่อ366.65 kBAdobe PDFView/Open
2_Abstract.pdfบทคัดย่อ Eng315.01 kBAdobe PDFView/Open
3_คำนำ,สารบัญ.pdfสารบัญ443.19 kBAdobe PDFView/Open
4_บทที่ 1.pdfบทที่1406.3 kBAdobe PDFView/Open
5_บทที่ 2.pdfบทที่21.38 MBAdobe PDFView/Open
6_บทที่ 3.pdfบทที่3593.09 kBAdobe PDFView/Open
7_บทที่ 4.pdfบทที่4469.61 kBAdobe PDFView/Open
8_บทที่ 5.pdfบทที่5408.43 kBAdobe PDFView/Open
9_บรรณานุกรม.pdfบรรณานุกรม393.38 kBAdobe PDFView/Open
10_ภาคผนวก.pdfภาคผนนวก3.73 MBAdobe PDFView/Open
11_ประวัตินักวิจัย.pdfประวัติ479.21 kBAdobe PDFView/Open
View Statistics

Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.

 

Valid XHTML 1.0! DSpace Software Copyright © 2002-2010  Duraspace - Feedback