Information Retrieval Systems of Research Institute at Saun Sunandha Rajabhat University >
งานวิจัยปีงบประมาณ 2560 >
งานวิจัยภาษาไทย >
แหล่งทุนภายนอก ปีงบประมาณ 2560 >
Please use this identifier to cite or link to this item:
http://hdl.handle.net/123456789/929
|
Title: | การพัฒนาเทคโนโลยีนวัตกรรมบนฐานภูมิปัญญาท้องถิ่น ของกลุ่มผู้ผลิตน้าตาลมะพร้าวตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงสู่ SMEs |
Authors: | ธาราสวัสดิ์พิพัฒน์, ชัยศรี |
Issue Date: | 30-Oct-2018 |
Series/Report no.: | งานวิจัยปี2560; |
Abstract: | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมที่ทาให้เกิดอุบัติเหตุในการทางานของกลุ่มผู้ผลิตสินค้าและหาแนวทางการพัฒนาเทคโนโลยีการจัดการผลิตที่เหมาะสมกับกลุ่มผู้ผลิตสินค้าโดยเน้นศึกษากลุ่มอาชีพผู้ผลิตสินค้าน้าตาลมะพร้าวกลุ่มประชากรจานวน 85 ราย กลุ่มตัวอย่างจานวน 70 ราย ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง ทาการวิเคราะห์ข้อมูลด้วยวีวิเคราะห์เชิงปริมาณ โดยใช้สถิติเชิงพรรณนาด้วยค่าร้อยละค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการศึกษาพบว่า
ปัจจัยด้านพฤติกรรมที่ทาให้เกิดอุบัติเหตุในการทางาน ค่าเฉลี่ยเกี่ยวกับพฤติกรรมในการทางานที่มีผลต่อการเกิดอุบัติเหตุในการทางานในกลุ่มผู้ผลิตสินค้าชุมชน OTOP และSMEs ในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง มีค่าคะแนนเฉลี่ย 3.38 และมีการ์ดครอบป้องกันอันตรายมากที่สุดคือ คิดเป็นร้อยละ 82.90 ปัจจัยด้านสภาพแวดล้อมที่ไม่ปลอดภัยในการทางานแสงสว่างในที่ทางานที่คือ พอดี คิดเป็นร้อยละ 55.70 เสียงในที่ทางานคือ ดังเกินไป คิดเป็นร้อยละ 31.40 อุณหภูมิในที่ทางานคือ ปกติ คิดเป็นร้อยละ 51.40 ฝุ่นในที่ทางานคือ มีฝุ่น คิดเป็นร้อยละ 74.30 สารเคมีในที่ทางานคือ ไม่มีสารเคมีคิดเป็นร้อยละ 70.00 แนวทางการลดอุบัติเหตุเนื่องจากการทางานในกลุ่มผู้ผลิตสินค้าชุมชน OTOPและกลุ่ม SMEsในจังหวัดสมุทรสงครามอยู่ในระดับปานกลาง มีค่าคะแนนเฉลี่ย 3.24 แบ่งออกเป็น 3 ด้านคือ 1) ด้านนโยบายขององค์กรอยู่ในระดับปานกลางมีค่าคะแนนเฉลี่ย 3.47 คือ 1.1การติดป้ายประกาศนโยบายด้านความปลอดภัยจากฝ่ายบริหารในที่ที่ชัดเจน 1.2 สอดแทรกนโยบายด้านความปลอดภัยในคู่มือปฐมนิเทศ 1.3 สอดแทรกนโยบายด้านความปลอดภัยในเอกสารการอบรมต่างๆ ของลูกจ้าง 1.4 แจ้งนโยบายความปลอดภัยอาชีวอนามัย 1.5 สภาพแวดล้อมในการทางานให้กับลูกจ้างทุกคนทราบ2) ด้านการให้ความรู้เรื่องความปลอดภัยอยู่ในระดับปานกลาง มีค่าคะแนนเฉลี่ย 2.88 คือ 2.1 จัดอบรมให้ความรู้ปลูกจิตสานึกด้านความปลอดภัยในการทางานแก่ลูกจ้าง 2.2 หัวหน้าสอนงานที่อาจจะก่อให้เกิดอันตรายแก่ลูกจ้าง 2.3 ผู้ผลิตไปดูงานด้านความปลอดภัย 2.4 จัดอบรมเรื่องความปลอดภัยในการทางานแก่ผู้ผลิตในชุมชน 2.5 จัดอบรมและฝึกซ้อมหนีภัยจากอุบัติเหตุต่างๆ เช่น ไฟไหม้ แผ่นดินไหวอยู่ใน3) ด้านกระบวนการผลิตและสภาพแวดล้อมในการทางานอยู่ในระดับปานกลาง มีค่าคะแนนเฉลี่ย 3.37 คือ 3.1 จัดตารางและมอบหมายผู้รับผิดชอบคอยบารุงรักษาเครื่องจักรให้อยู่ในสภาพที่พร้อมใช้งาน3.2 จัดตารางและมอบหมายผู้รับผิดชอบคอยตรวจสอบอุปกรณ์กั้นเขตพื้นที่อันตรายให้สามารถป้องกันอันตรายได้อย่างมีประสิทธิภาพ 3.3 จัดตารางและมอบหมายให้ผู้รับผิดชอบคอยตรวจสอบให้มีเครื่องป้องกันอันตรายส่วนบุคคลให้กับพนักงาน 3.4 จัดตารางและมอบหมายผู้รับผิดชอบคอยตรวจสอบระบบสัญญาณเตือนภัยต่างๆ เช่นไฟไหม้ แผ่นดินไหว สารเคมีรั่ว แนวทางการพัฒนาเทคโนโลยีนวัตกรรมบนฐานภูมิปัญญาท้องถิ่นของกลุ่มผู้ผลิตน้าตาลมะพร้าวตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงสู่ SMEs พบว่า ด้านการวางแผนการผลิตของกลุ่มผู้ผลิตน้าตาลมะพร้าวตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงสู่ SMEs มีค่าคะแนนเฉลี่ย 2.89 และด้านการผลิตของกลุ่มผู้ผลิตน้าตาลมะพร้าวตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงสู่ SMEs มีค่าคะแนนเฉลี่ย 2.99 และด้านคุณภาพและมาตรฐานของกลุ่มผู้ผลิตน้าตาลมะพร้าวตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงสู่ SMEs มีค่าคะแนนเฉลี่ย 2.92 อยู่ในระดับปานกลาง ด้านการบารุงรักษาของกลุ่มผู้ผลิตน้าตาลมะพร้าวตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงสู่ SMEs มีค่าคะแนนเฉลี่ย 2.43 และด้านสารสนเทศของกลุ่มผู้ผลิตน้าตาลมะพร้าวตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงสู่ SMEs พบว่าโดยภาพรวม มีค่าคะแนนเฉลี่ย 2.16 อยู่ในระดับน้อย ส่วนด้านสิ่งแวดล้อมในการทางานและความปลอดภัยในการทางานของกลุ่มผู้ผลิตน้าตาลมะพร้าวตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงสู่ SMEs พบว่าโดยภาพรวม มีค่าคะแนนเฉลี่ย 2.90 อยู่ในระดับปานกลาง |
Description: | งานวิจัยงบประมาณแผ่นดิน ปีงบประมาณ 2560 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
URI: | http://hdl.handle.net/123456789/929 |
Appears in Collections: | แหล่งทุนภายนอก ปีงบประมาณ 2560
|
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.
|