dc.contributor.author |
วุฒิธนาภูมิ, พุทธิวัฒน์ไวย |
|
dc.contributor.author |
โสมณวัตร, คมสัน |
|
dc.contributor.author |
สุทธใจดี, วรรณี |
|
dc.contributor.author |
ธีรสถิตย์ธรรม, พิมพ์พลอย |
|
dc.date.accessioned |
2018-12-13T07:18:04Z |
|
dc.date.available |
2018-12-13T07:18:04Z |
|
dc.date.issued |
2018-12-13 |
|
dc.identifier.other |
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
|
dc.identifier.uri |
http://hdl.handle.net/123456789/1204 |
|
dc.description |
งานวิจัยงบประมาณรายได้แผนดิน ปีงบประมาณ 2560 มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา |
th_TH |
dc.description.abstract |
ประเทศไทยเป็นประเทศเกษตรกรรม ซึ่งหนึ่งในผลิตภัณฑ์ที่ประทศไทยนั้นส่งออกมากที่สุดก็คือสินค้าเกษตร ซึ่งสินค้าเกษตรที่ทำการส่งออกไปยังประเทศคู่ค้านั้นได้แก่ ผักสด ผักแช่เย็นควบคุมอุณหภูมิ และ ผักแช่แข็ง โดยที่มูลค่ารวมของการส่งออกผักของประเทศไทยนั้นอยู่ที่ 30,000 – 40,000 ล้านบาทต่อปี โดยที่มีอัตราการเติบโตอยู่ที่ร้อยละ 15 – 20 ต่อปี โดยที่ขิงนั้นเป็นหนึ่งในผักที่มีการส่งออกไปยังประเทศญี่ปุ่นมากที่สุดเนื่องจากว่าขิงของประเทศไทยนั้นมีคุณภาพที่ดีและเพียงพอต่อปริมาณการบริโภคของประชาชนชาวญี่ปุ่นซึ่งนิยมบริโภคขิงในหลากหลายรูปแบบ และยังมีราคาที่เหมาะสมอีกด้วย งานวิจัยฉบับนี้จึงมุ่งหวังที่จะเพิ่มประสิทธิภารการส่งออกของขิงไทยไปสู่ประเทศญี่ปุ่น ซึ่งจากการศึกษานั้นได้พบว่ามี 5 ปัจจัยซึ่งเกี่ยวข้องกับการส่งออกของขิงไทยไปสู่ประเทศญี่ปุ่น โดยที่ปัจจัยด้านคุณภาพของขิงไทยนั้นมีความสำคัญอยู่ในระดับดีมาก ที่คะแนน 4.86 แล้วอีก 4 ปัจจัยได้แก่ ด้านราคา ด้านคุณภาพอุปกรณ์ ด้านกระบวนการศุลกากร และด้านรูปแบบของการกระจายสินค้านั้นอยู่ในระดับดีทั้งหมด |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.relation.ispartofseries |
งานวิจัยปี 2561; |
|
dc.title |
การเพิ่มศักยภาพของห่วงโซ่อุปทานขิงไทยไปสู่ประเทศญี่ปุ่น |
th_TH |
dc.type |
Article |
th_TH |