dc.contributor.author |
แช่มช้อย, นภดล |
|
dc.contributor.author |
สังวาระนที, ณรงค์ |
|
dc.contributor.author |
สังวาระนที, นิศากร |
|
dc.date.accessioned |
2018-12-14T07:10:41Z |
|
dc.date.available |
2018-12-14T07:10:41Z |
|
dc.date.issued |
2018-12-14 |
|
dc.identifier.other |
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
|
dc.identifier.uri |
http://hdl.handle.net/123456789/1225 |
|
dc.description |
งานวิจัยงบประมาณแผ่นดินมหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ2561 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
th_TH |
dc.description.abstract |
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาวะที่เหมาะสมในการสังเคราะห์ไคโตซานจากเปลือกหอยลายและศึกษาประสิทธิภาพของฟิล์มไคโตซานสาหรับการยืดระยะเวลาของการเก็บรักษาผลไม้ โดยมีการเตรียมฟิล์มไคโตซานและนามาทดสอบคุณสมบัติในการเก็บรักษากล้วย การวิเคราะห์คุณสมบัติด้วยเทคนิคเอกซเรย์ฟลูออเรสเซนต์ (XRF) เทคนิคเอกซเรย์ดิฟแฟรกชัน (X-ray Diffraction Spectroscopy, XRD) และการเปลี่ยนแปลงลักษณะทางคุณภาพของผลกล้วย โดยทาการทดลองเปรียบเทียบที่อุณหภูมิห้องและอุณหภูมิ 4 องศาเซลเซียส พิจารณาการเปลี่ยนแปลงค่า pH ของผลกล้วย การทดสอบการสูญเสียน้าหนักของผลกล้วย และการเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติทางเคมี ผลการศึกษาพบว่าผลกล้วยที่มีการหุ้มด้วยฟิล์มไคโตซานจากเปลือกหอยลายสามารถช่วยลดการสูญเสียน้าหนักและชะลอการเปลี่ยนสีของผลกล้วยได้มากกว่าผลกล้วยที่ไม่มีการหุ้มฟิล์มไคโตซานจากเปลือกหอย การหุ้มฟิล์มไคโตซานสามารถชะลอการสุกของผลกล้วยได้ |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.relation.ispartofseries |
งานวิจัยปี 2561; |
|
dc.subject |
ฟิล์มไคโตซาน, หอยลาย, กล้วย |
th_TH |
dc.title |
การประยุกต์ใช้เปลือกหอยลายสาหรับยืดอายุการเก็บรักษาผลไม้ |
th_TH |
dc.type |
Article |
th_TH |