ประสิทธิผลของโปรแกรมสุขศึกษาโดยประยุกต์ใช้ทฤษฎีการดูแลตนเอง ในผู้ป่วยความดันโลหิตสูง

DSpace/Manakin Repository

ประสิทธิผลของโปรแกรมสุขศึกษาโดยประยุกต์ใช้ทฤษฎีการดูแลตนเอง ในผู้ป่วยความดันโลหิตสูง

Show simple item record

dc.contributor.author สุขวงศ์, วิริยา
dc.contributor.author วรรณกูล, ธนพร
dc.contributor.author โสภิตภักดีพงษ์, ชลิดา
dc.creator สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา TH
dc.date.accessioned 2015-06-20T06:44:46Z
dc.date.available 2015-06-20T06:44:46Z
dc.date.issued 2015-06-20
dc.identifier.issn มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
dc.identifier.uri http://hdl.handle.net/123456789/223
dc.description งานวิจัยงบประมาณรายได้มหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2554 มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา th_TH
dc.description.abstract การศึกษาเรื่องประสิทธิผลของโปรแกรมสุขศึกษาโดยประยุกต์ใช้ทฤษฎีการดูแลตนเอง ในผู้ป่วยความดันโลหิตสูง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมสุขศึกษาที่มีต่อความรู้และพฤติกรรมในการดูแลตนเองของผู้ป่วยความดันโลหิตสูง รูปแบบการวิจัยเป็นการวิจัยกึ่งทดลองกลุ่มตัวอย่างกลุ่มเดียว วัดสองครั้งก่อนและหลังการทดลอง กลุ่มตัวอย่างจานวน 30 คน เลือกโดยวิธีการสุ่มแบบเฉพาะเจาะจง โดยมีเกณฑ์คือ ได้รับการวินิจฉัยจากแพทย์ว่าเป็นโรคความดันโลหิตสูง หรือมีค่าความดันโลหิต Systolic มากกว่าหรือเท่ากับ 140 mmHg และมีค่าความดัน Diastolic มากกว่าหรือเท่ากับ 90 mmHg โปรแกรมสุขศึกษาประกอบด้วยการสอนสุขศึกษาเรื่องความดันโลหิตสูง เพื่อให้กลุ่มตัวอย่างมีความรู้ในการดูแลตนเองและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการดูแลตนเองในเรื่องการรับประทานอาหาร การออกกาลังกาย การผ่อนคลายความเครียด การงดหรือลดปริมาณการสูบบุหรี่ การดื่มเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ การรับประทานยาอย่างถูกต้อง และการตรวจตามนัด เพื่อลดภาวะแทรกซ้อนของโรคหลอดเลือดสมอง เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือ แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป แบบสอบถามความรู้และพฤติกรรมในการดูแลตนเอง และเครื่องวัดความดันโลหิต เก็บข้อมูลก่อนการทดลองและหลังการทดลอง 2 สัปดาห์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณนา และสถิติอ้างอิงโดยใช้ dependent t-test ผลการวิจัยพบว่า หลังการทดลองกลุ่มตัวอย่างมีคะแนนเฉลี่ยความรู้ในการดูแลตนเองสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และมีคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการดูแลตนเองสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ผลการศึกษานี้แสดงว่าโปรแกรมสุขศึกษา มีผลให้เกิดการเปลี่ยนแปลงความรู้และพฤติกรรมการดูแลตนเองดีขึ้น th_TH
dc.description.sponsorship มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.publisher สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา TH
dc.relation.ispartofseries งานวิจัยปี 2554;
dc.source TH TH
dc.subject ประสิทธิผล th_TH
dc.subject โปรแกรมสุขศึกษา, th_TH
dc.subject การดูแลตนเอง th_TH
dc.subject ความดันโลหิตสูง th_TH
dc.title ประสิทธิผลของโปรแกรมสุขศึกษาโดยประยุกต์ใช้ทฤษฎีการดูแลตนเอง ในผู้ป่วยความดันโลหิตสูง th_TH
dc.type Article th_TH


Files in this item

Files Size Format View Description
ird_123_54.pdf 82.35Kb PDF View/Open ปก
ird_123_54 (1).pdf 279.7Kb PDF View/Open บทคัดย่อ
ird_123_54 (2).pdf 250.2Kb PDF View/Open abstract
ird_123_54 (3).pdf 409.8Kb PDF View/Open กิตติกรรมประกาศ
ird_123_54 (4).pdf 349.2Kb PDF View/Open บทที่ 1
ird_123_54 (5).pdf 447.6Kb PDF View/Open บทที่ 2
ird_123_54 (6).pdf 353.6Kb PDF View/Open บทที่ 3
ird_123_54 (7).pdf 365.9Kb PDF View/Open บทที่ 4
ird_123_54 (8).pdf 314.2Kb PDF View/Open บทที่ 5
ird_123_54 (9).pdf 336.6Kb PDF View/Open บรรณานุกรม
ird_123_54 (10).pdf 536.4Kb PDF View/Open ภาคผนวก
ird_123_54 (11).pdf 283.5Kb PDF View/Open ประวัตินักวิจัย

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account