dc.contributor.author |
ไวจิตรกรรม, พิบูล |
|
dc.creator |
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
TH |
dc.date.accessioned |
2015-06-20T08:36:01Z |
|
dc.date.available |
2015-06-20T08:36:01Z |
|
dc.date.issued |
2015-06-20 |
|
dc.identifier.issn |
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
|
dc.identifier.uri |
http://hdl.handle.net/123456789/280 |
|
dc.description |
งานวิจัยงบประมาณรายได้มหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2554 มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา |
th_TH |
dc.description.abstract |
การวิจัยเรืองนี มีวัตถุประสงคเ์พือศึกษารูปแบบของศิลปกรรมอิสลามทีเกียวข้องกับ
สถาปัตยกรรมมัสยิดในกรุงเทพฯ ใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) โดยการสำรวจ
ศิลปกรรมในมัสยิดในกรุงเทพฯ จากนั นจะสัมภาษณ์ผู้ให้ข้อมูลหลักทีมีความเชียวชาญทางด้าน
ศิลปกรรมและวัฒนธรรมอิสลาม
ผลการวิจัยพบว่า 1) ศิลปกรรมอิสลามทีใช้ตกแต่งมัสยิดในสมัยอยุธยาตอนปลาย มี
ความเป็นไทยประเพณีมากกว่าอิสลาม 2) ศิลปกรรมอิสลามทีใช้ตกแต่งมัสยิดในสมัยรัตนโกสินทร์
ตอนต้น จะเน้นอัตลักษณ์ประจำชาติตามเชือชาติของมุสลิม เช่น อิหร่านและอินเดีย 3) ศิลปกรรม
อิสลามทีใช้ตกแต่งมัสยิดช่วงหลังสงครามโลก ครังที 2 จะเน้นอัตลักษณ์ของอาหรับหรือแบบ
อิสลามสากล 4) ศิลปกรรมอิสลามทีใช้ตกแต่งมัสยิดยุคใหม่ ยังคงรักษาอัตลักษณ์ของอิสลาม
สากลไว้ 5) ปัจจัยทีเป็นตัวกำหนดรูปแบบศิลปกรรมอิสลาม คือ แนวคิดของศาสนาอิสลาม อารย
ธรรมอาหรับ วัฒนธรรมดั งเดิมของมุสลิมกลุ่มต่าง ๆสภาพเศรษฐกิจ การเมืองและผู้อุปถัมภ์มัสยิด |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.publisher |
สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
TH |
dc.relation.ispartofseries |
งานวิจัยปี 2554; |
|
dc.source |
TH |
TH |
dc.subject |
การศึกษาศิลปกรรมอิสลาม |
th_TH |
dc.subject |
มัสยิดในกรุงเทพฯ |
th_TH |
dc.title |
การศึกษาศิลปกรรมอิสลามทีเกียวข้องกับมัสยิดในกรุงเทพฯ |
th_TH |
dc.type |
Article |
th_TH |