dc.contributor.author |
อุ่นประเสริฐพงศ์ นิชโรจน์, ผศ.ดร.ลดาวัลย์ |
|
dc.contributor.author |
ัศวพรธนภัทร์, อ.ศุภรัศมิ์ |
|
dc.contributor.author |
บัวหอม, อ. วันเพ็ญ |
|
dc.contributor.author |
เจริญงามเสมอ, อ.รอ.นพ. พงษ์ศักด |
|
dc.contributor.author |
กมลดิลก, อ. พัฒน์พงษ์ |
|
dc.contributor.author |
ครุธชั่งทอง, อ. ประดับเพรช |
|
dc.date.accessioned |
2018-09-26T06:51:00Z |
|
dc.date.available |
2018-09-26T06:51:00Z |
|
dc.date.issued |
2018-09-26 |
|
dc.identifier.other |
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
|
dc.identifier.uri |
http://hdl.handle.net/123456789/689 |
|
dc.description |
งานวิจัยงบประมาณมหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2559 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
th_TH |
dc.description.abstract |
การวิจัยครั้งนี้เป็นแบบกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลของการออกกําลังกายแบบแอโรบิคฮู
ลาฮูปแบบกลุ่มต่อเส้นรอบเอวและดัชนีมวลกายในกลุ่มนักศึกษาที่เสี่ยงต่อโรคอ้วนลงพุง ก่อนเต้นและหลังเต้น
ด้วยการออกกําลังกายแบบแอโรบิคฮูลาฮูปแบบกลุ่ม ตัวอย่างจํานวน 27 คน ถูกเลือกแบบเฉพาะเจาะจงตาม
เกณฑ์คัดเข้าคือ เส้นรอบเอว 32 นิ้วขึ้นไปในเพศหญิง และ 36 นิ้วขึ้นไปในเพศชาย ตัวอย่างได้รับการตรวจ
ร่างกายและทําแบบสอบถามก่อนและหลังการเข้าร่วมโครงการ เช่น ชั่งน้ําหนัก วัดส่วนสูง วัดเส้นรอบเอวและ
ดัชนีมวลกาย การออกกําลังกายด้วยแอโรบิคฮูลาฮูปเป็นกลุ่ม มีผู้นําในการออกกําลังกาย โดยใช้เวลา 40
นาที ทั้งหมด 18 ครั้ง เครื่องมือวิจัยประกอบด้วย แบบบันทึกข้อมูล ประกอบด้วย เพศ อายุน้ําหนัก ส่วนสูง
เส้นรอบเอว และดัชนีมวลกาย (BMI) อุปกรณ์ตรวจร่างกาย ประกอบด้วย สายวัดเส้นรอบเอว เครื่องวัด
ส่วนสูง เครื่องวัดความดันโลหิต เครื่องชั่งน้ําหนัก อุปกรณ์ออกกําลังกายด้วยแอโรบิคฮูลาฮูป
ประกอบด้วย ห่วงฮูลาฮูป ซึ่งมีน้ําหนัก 1.2 กิโลกรัม เส้นผ่าศูนย์กลาง 41.5 นิ้ว ขนาดความใหญ่ 5 นิ้ว เส้น
รอบวง 138 นิ้ว ลําโพงขยายเสียง ไมโครโฟนลอย เพลงประกอบการออกกําลังกายด้วยฮูลาฮูป แบบเป็นกลุ่ม
เป็นเพลงจังหวะช้า-เร็ว วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติบรรยาย และใช้การวิเคราะห์ข้อมูลแบบสถิติ Paired Ttest
เพื่อเปรียบเทียบผลของการออกกําลังกายแบบแอโรบิคฮูลาฮูปแบบเป็นกลุ่มก่อนและหลังเข้าโครงการ
ผลการวิจัยพบว่า น้ําหนักและค่าดัชนีมวลกายของกลุ่มนักศึกษาที่มีความเสี่ยงต่อโรคอ้วนลงพุงไม่
แตกต่างกันทั้งก่อนและหลังการออกกําลังกายแบบแอโรบิคแบบฮูลาฮูปแบบกลุ่ม แต่เส้นรอบเอวของกลุ่ม
นักศึกษาที่มีความเสี่ยงต่อโรคอ้วนลงพุง ลดลงอย่างมีนัยสําคัญกันทางสถิติภายหลังเข้าร่วมโครงการ ผล
จากการศึกษาครั้งนี้ยืนยันว่าการเต้นแอโรบิคฮูลาฮูปสามารถนําไปประยุกต์ในการสลายไขมันหน้าท้อง เพื่อลด
ความเสี่ยงการเกิดโรคอ้วนลงพุง ในส่วนของน้ําหนักและดัชนีมวลกายไม่ลดลงนั้นอธิบายได้ว่ากลุ่มตัวอย่าง
ยังคงไม่ปรับเปลี่ยนบริโภคนิสัย จึงทําให้ไม่สามารถควบคุมน้ําหนักและดัชนีมวลกายได้ |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.relation.ispartofseries |
งานวิจัยปี 2559; |
|
dc.subject |
: การออกกําลังกาย / แอโรบิคฮูลาฮูป / |
th_TH |
dc.title |
ผลของการออกกําลังกาย แบบแอร์โรบิคฮูลาฮูปและการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมต่อ เส้นรอบเอว ดัชนีมวลกาย ในกลุ่มนักศึกษาที่ต่อเสี่ยงโรคอ้วนลงพุง |
th_TH |
dc.type |
Article |
th_TH |