Information Retrieval Systems of Research Institute at Saun Sunandha Rajabhat University >
งานวิจัยปีงบประมาณ 2554 >
งานวิจัยภาษาไทย >
แหล่งทุนภายใน ปีงบประมาณ 2554 >
Please use this identifier to cite or link to this item:
http://hdl.handle.net/123456789/166
|
Title: | การวิเคราะห์องค์ประกอบความต้องการของผู้ประกอบการที่พึงประสงค์ ของวิทยาศาสตรบัณฑิต |
Authors: | โทวิชา, อดิศัย ภิญโญ, ธีระดา |
Keywords: | ความต้องการ ผู้ประกอบการ ที่พึงประสงค์ ของวิทยาศาสตรบัณฑิต |
Issue Date: | 20-Jun-2015 |
Publisher: | สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
Series/Report no.: | งานวิจัยปี 2554; |
Abstract: | การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อค้นหาองค์ประกอบความต้องการของผู้ประกอบการที่พึงประสงค์ของวิทยาศาสตรบัณฑิต และเปรียบเทียบองค์ประกอบความต้องการของผู้ประกอบการที่พึงประสงค์ของวิทยาศาสตรบัณฑิต จาแนกตามลักษณะทางประชากรศาสตร์ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาคือผู้ประกอบการในพื้นที่กรุงเทพมหานคร จานวน 1109 คน เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาคือแบบสารวจความต้องการของผู้ประกอบการที่พึงประสงค์ของวิทยาศาสตรบัณฑิต วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าจานวน ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน t - Test , F-Test (ANOVA) และใช้วิธีการเปรียบเทียบพหุคูณ (Multiple Comparision test) ด้วยวิธีการ LSD การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงสารวจ (Factor Analysis) ตรวจสอบความเหมาะสมในการใช้เทคนิคการวิเคราะห์ปัจจัย โดยใช้ค่า Kasier-Meyer-Olkin (KMO) และ Bartlett’s Test of Sphericity ทาการวิเคราะห์ปัจจัย (Factor Analysis) ใช้วิธีหมุนแกนแบบตั้งฉาก (Orthogonal Rotation) ด้วยวิธี Varimax Rotation
ผลการวิจัยพบว่า
1. องค์ประกอบความต้องการของผู้ประกอบการที่พึงประสงค์ของวิทยาศาสตรบัณฑิต ประกอบด้วย 6 องค์ประกอบ โดยเรียงลาดับความสาคัญ ได้แก่ ด้านภาวะผู้นาเชิงปฏิบัติด้านจรรยาบรรณ ด้านมนุษยสัมพันธ์ ด้านสารสนเทศและการจัดการ ด้านความรู้และทักษะพื้นฐาน และด้านคุณธรรมจริยธรรม
2. ระดับความต้องการของผู้ประกอบการที่พึงประสงค์ของวิทยาศาสตรบัณฑิต พบว่า ทุกด้านมีระดับความต้องการอยู่ในระดับมาก โดยเรียงลาดับความสาคัญ คือ ด้านคุณธรรมจริยธรรม ด้านจรรยาบรรณ ด้านภาวะผู้นาเชิงปฏิบัติ ด้านสารสนเทศและการจัดการ ด้านความรู้และทักษะพื้นฐาน และ ด้านมนุษยสัมพันธ์ ตามลาดับ
3. อายุส่งผลต่อระดับความต้องการของผู้ประกอบการที่พึงประสงค์ของวิทยาศาสตรบัณฑิต ยกเว้น ด้านมนุษยสัมพันธ์ โดยกลุ่มอายุ 41 ปี ขึ้นไปแตกต่างจากกลุ่มอายุกลุ่มอื่น หาก
พิจารณาตามวุฒิการศึกษา พบว่า วุฒิการศึกษาส่งผลต่อองค์ประกอบความต้องการในทุกกลุ่มวุฒิการศึกษา ในขณะที่ผู้ประกอบการจาแนกตามสถานประกอบการ /หน่วยงาน พบว่า สถานประกอบการ /หน่วยงานส่งผลต่อองค์ประกอบความต้องการในด้านภาวะผู้นาเชิงปฏิบัติ โดย ภาคเอกชนมีระดับความต้องการมากกว่าภาครัฐ
คาสาคัญ 1. ความต้องการของผู้ประกอบการ 2. การวิเคราะห์องค์ประกอบ 3. วิทยาศาสตรบัณฑิต |
Description: | งานวิจัยงบประมาณรายได้มหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2554 มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา |
URI: | http://hdl.handle.net/123456789/166 |
ISSN: | มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
Appears in Collections: | แหล่งทุนภายใน ปีงบประมาณ 2554
|
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.
|