DSpace About DSpace Software
 

Information Retrieval Systems of Research Institute at Saun Sunandha Rajabhat University >
งานวิจัยปีงบประมาณ 2558 >
ภาษาไทย >
แหล่งทุนภายใน ปีงบประมาณ 2558 >

Please use this identifier to cite or link to this item: http://hdl.handle.net/123456789/633

Title: การพยากรณ์การซื้อสินค้าผลิตภัณฑ์สมุนไพร โดยวิธีกฏความสัมพันธ์
Authors: เตชะเพชรไพบูลย์, ผู้ช่วยศาสตราจารย์นิศานาถ
กุหลาบเพ็ชรทอง, ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.กัลยณัฎฐ์
Issue Date: 25-Sep-2018
Series/Report no.: งานวิจัยปี2560;
Abstract: การพยากรณ์การซื้อสินค้าผลิตภัณฑ์สมุนไพร โดยวิธีกฏความสัมพันธ์ มีวัตถุประสงค์เพื่อค้นหารูปแบบกฎความสัมพันธ์ของการซื้อสินค้าผลิตภัณฑ์สมุนไพร บริษัทป่านนิศา โดยวิธีกฎความสัมพันธ์ โดยเก็บรวบรวมข้อมูลการขายผลิตภัณฑ์สมุนไพร ของบริษัทป่านนิศา ปี พ.ศ. 2557 จานวน 4,248 รายการ โดยมีรายการสินค้า จานวนทั้งสิ้น 22 รายการ และทาการหาความสัมพันธ์ในการซื้อสินค้าผลิตภัณฑ์สมุนไพร โดยวิธีกฎความสัมพันธ์ ด้วยเทคนิค FP-Growth โดยเริ่มจากการทาความเข้าใจในธุรกิจ ทาความเข้าใจข้อมูล การเตรียมข้อมูล การสร้างแบบจาลองตัวอย่าง ประเมินผล และนาไปใช้งาน ผลการศึกษาพบว่า 1. การซื้อสินค้าโรลออนสารส้ม ควบคู่กับ ลิปปาล์ม มีโอกาสเกิดขึ้น 30.77 เปอร์เซ็นต์ของการซื้อสินค้าทั้งหมด และลูกค้ามีโอกาสซื้อลิปปาล์มแล้วจึงเลือกซื้อโรลออนสารส้มสูงกว่า เนื่องจากค่าความเชื่อมั่น (confidence) สูงกว่า ส่วนการเลือกซื้อลิปปาล์มกับยาสีฟัน ลูกค้ามีโอกาสที่จะเลือกซื้อลิปปาล์มแล้วจึงเลือกซื้อยาสีฟัน สังเกตุได้จากค่าความเชื่อมั่นที่สูงกว่า และสาหรับการเลือกซื้อยาสีฟันกับโรลออนสารส้มนั้น จะได้ว่าลูกค้าจะเลือกซื้อยาสีฟันก่อนที่จะซื้อ โรลออนสารส้ม 2. การซื้อสินค้าแชมพูสมุนไพร ควบคู่กับครีมนวดบารุงผมงาดา มีโอกาสเกิดขึ้น 33.4 เปอร์เซ็นต์ของการซื้อสินค้าทั้งหมด และลูกค้ามีโอกาสซื้อครีมนวดบารุงผมงาดา แล้วจึงเลือกซื้อแชมพูสมุนไพรสูงกว่า เนื่องจากค่าความเชื่อมั่น(confidence) ที่มากกว่า 3. การซื้อสินค้าคอลลาเจน ควบคู่กับ ครีมหน้าใส มีโอกาสเกิดขึ้น 32.98 เปอร์เซ็นต์ของการซื้อสินค้าทั้งหมด และลูกค้ามีโอกาสซื้อครีมหน้าใส แล้วจึงเลือกซื้อคอลลาเจน สูงกว่า เนื่องจากค่าความเชื่อมั่น (confidence) สูงกว่าเป็น 98.66 เปอร์เซ็นต์ข้อเสนอแนะ การพยากรณ์การซื้อสินค้าผลิตภัณฑ์สมุนไพร สามารถนาไปประยุกต์ใช้กับการพยากรณ์การซื้อสินค้าโอทอป และการขายสินค้าอื่นๆ ได้ เพื่อสามารถคาดคะเนความต้องการในการบริโภคสินค้าของลูกค้า และเป็นข้อมูลในการส่งเสริมการขายได้อย่างมีประสิทธิภาพ อีกทั้งยังสามารถนาไปเป็นข้อมูลในการวางแผน การผลิตสินค้า การจัดวาง และประชาสัมพันธ์ ให้เพียงพอและสอดคล้องกับความต้องการของลูกค้าได้อีกด้วย
Description: งานวิจัยงบประมาณรายได้มหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2558 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
URI: http://hdl.handle.net/123456789/633
Appears in Collections:แหล่งทุนภายใน ปีงบประมาณ 2558

Files in This Item:

File Description SizeFormat
31 ปก บทคัดย่อ กิติกรรมประกาศ คำนำ.pdfปก บทคัดย่อ กิติกรรมประกาศ คำนำ185.93 kBAdobe PDFView/Open
32 สารบัญ สารบัญภาพ ตาราง.pdfสารบัญ221.07 kBAdobe PDFView/Open
33 บทที่ 1 บทนำ.pdfบทที่187.49 kBAdobe PDFView/Open
33 บทที่ 2แนวคิดทฤษฏีและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง.pdfบทที่2217.75 kBAdobe PDFView/Open
33 บทที่ 3 วิธีการวิจัย.pdfบทที่32 MBAdobe PDFView/Open
33 บทที่ 4 ผลการวิจัย.pdfบทที่41.89 MBAdobe PDFView/Open
33 บทที่ 5 สรุปผลการดำเนินงานข้อเสนอแนะ.pdfบทที่5270.54 kBAdobe PDFView/Open
33 บรรณานุกรม ภาคผนวก ประวัตินักวิจัย.pdfบรรณานุกรม ภาดผนวก ประวัติ497.89 kBAdobe PDFView/Open
View Statistics

Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.

 

Valid XHTML 1.0! DSpace Software Copyright © 2002-2010  Duraspace - Feedback