dc.contributor.author |
สุวรรณภักดี, พิสณฑ์ |
|
dc.date.accessioned |
2018-09-13T08:53:33Z |
|
dc.date.accessioned |
2018-09-13T08:53:33Z |
|
dc.date.available |
2018-09-13T08:53:33Z |
|
dc.date.available |
2018-09-13T08:53:33Z |
|
dc.date.issued |
2018-09-13 |
|
dc.identifier.uri |
http://hdl.handle.net/123456789/407 |
|
dc.identifier.uri |
http://hdl.handle.net/123456789/408 |
|
dc.description |
งานวิจัยงบประมาณรายได้มหาวิทยาลัย ปังบประมาณ 2560 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
th_TH |
dc.description.abstract |
เพื่อศึกษาศึกษาสภาพความเหลื่อมล้ำในสังคมไทยที่เป็นปัญหามาอย่างยาวนาน
ผู้วิจัยจึงได้หยิบประเด็นนี้มาศึกษาในแง่มุมต่างๆ เพื่อสร้างเป็นบทภาพยนตร์สั้น
ตามหลักแนวคิดและทฤษฏีภาพยนตร์ จนสามารถผลิตเป็นบทภาพยนตร์สั้น 1 เรื่อง ตามขั้นตอนที่ได้ศึกษามา
เพื่อให้ผู้สนใจศึกษานำไปสร้างเป็นภาพยนตร์สั้นที่ถ่ายทอดประเด็นสังคมต่อไป
ในการสร้างบทภาพยนตร์สั้น ลมพลัดถิ่น ผู้วิจัยได้ค้นพบการสร้างเรื่องราวเพื่อสังคม
ผ่านการศึกษาทฤษฏีต่างๆเพื่อสรรค์สร้างให้สังคมดีขึ้นได้
ซึ่งได้สร้างตัวละครทหารหนุ่มเพื่อเป็นตัวแทนของคนในสังคมที่มีทัศนคติลบต่อชาติพันธ์
ซึ่งลักษณะของทหารมีระดับชั้น เฉกเช่นเดียวกับคนในสังคมที่ถูกปลูกฝังทัศนคติต่างๆ จากผู้ใหญ่ ครู
หรือบุคคลที่มีสติปัญญาสูงกว่า เป็นต้น โดยสร้างเด็กต่างด้าวเป็นความเดียงสา ความเป็นมนุษย์
ที่พร้อมให้อภัยและช่วยเหลือมนุษย์ผู้อื่นเมื่อมีภัยเสมอ เด็กต่างด้าวในเรื่องจึงเปรียบเสมือนจิตวิญญาณบริสุทธฺ์
ที่จะมากล่อมเกลาวิญญาณที่กร้านของมนุษย์ เห็นมองเห็นคุณค่าของคนอย่างเท่าเทียม
ดั่งเช่นทหารหนุ่มได้เจอ
ผู้วิจัยจึงเล็งเห็นว่าการสร้างภาพยนตร์เพื่อสะท้อนแนวคิด
หรือลักษณะความจริงแท้ของความเป็นมนุษย์ในสังคมปัจจุบันที่เรากำลังเผชิญ อาจจะทำให้สามารถผู้ชมฉุกคิด
และตระหนักถึงความเป็นมนุษย์นอกเหนือจากความเจริญของสังคมได้ |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.relation.ispartofseries |
งานวิจียปี 2560; |
|
dc.title |
ศึกษาสภาพความเหลื่อมล้ำในสังคมไทย เพื่อจัดทำบทภาพยนตร์สั้นเรื่อง “ลมพลัดถิ่น” |
th_TH |
dc.type |
Article |
th_TH |