dc.contributor.author |
ฟองธนกิจ, ดร.รัชฎา |
|
dc.date.accessioned |
2018-09-17T08:07:38Z |
|
dc.date.available |
2018-09-17T08:07:38Z |
|
dc.date.issued |
2018-09-17 |
|
dc.identifier.other |
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
|
dc.identifier.uri |
http://hdl.handle.net/123456789/429 |
|
dc.description |
งานวิจัยงบประมาณรายได้มหาลัย ปีงบประมาณ 2560 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
th_TH |
dc.description.abstract |
การศึกษาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค5 1)บทบาทการบันทึกทางการพยาบาลผู้ป่วยของพยาบาล
วิชาชีพในห้องฉุกเฉินการดูแลผู้ป่วยเมื่อแรกรับในหน:วยอุบัติเหตุฉุกเฉินจะให้การดูแลผู้ป่วย แบบองค5
รวม (Total care) ผู้ป่วยจะไดดรับการดูแลเป็นรายบุคคล (Individual case) ได้รับการให้ การ
พยาบาลอย่างต่อเนื่องจนจบกระบวนการพยาบาล พยาบาลเจ้าของผู้ป่วยจะเป็นผู้มีบทบาทสำคัญใน
การบันทึกทางการพยาบาลผู้ป่วย โดยการลงบันทึกในทุกขั้นตอนตั้งแต:แรกรับจน เสร็จสิ้น
กระบวนการ ลงในแบบบันทึกทางการพยาบาลผู้ป่วย และเป็นเอกสารที่ติดตามไปกับผู้ป่วยตลอดการ
เขาารับการรักษา 2) เพื่อศึกษาปัญหาและอุปสรรคในการบันทึกทางการพยาบาลผู้ป่วยของพยาบาล
วิชาชีพที่ปฏิบัติงานในห้องฉุกเฉินการเกิดปPญหาความผิดพลาด การเกิดข อบกพร:องในการบันทึก
ทางการพยาบาลต:าง ๆ นั้น เกิดจาก สาเหตุหลัก คือ ภาระงานที่มีมากในขณะที่ต องปฏิบัติงานไป
พร้อม ๆ กับการลงบันทึกทางการพยาบาลให้เสร็จสิ้นในผู้ป่วยรายนั้น ๆ อีกทั้ง ในภาวะเร่งรีบทั้ง
อาการผู้ป่วยที่อยู่ในช่วงวิกฤต และการเร่งรีบที่จะต้องให้การกู้ชีพ มักเกิดปัญหาการบันทึกทางการ
พยาบาลที่ไม่ครบถ้วน 3) เพื่อศึกษาแนวทางในการแก้ปัญหาในการบันทึกทางการพยาบาลผู้ป่วยของ
พยาบาลวิชาชีพในห้องฉุกเฉินการบันทึกทางการพยาบาลผู้ป่วย เป็นเอกสารที่บันทึกทุกรายละเอียด
ของผู้ป่วยรายนั้น ๆ จึงเป็นหลักฐานที่สำคัญในการใช้เพื่อประกอบในการพิจารณาคดีความ และยัง
เป็นเครื่องมือที่ใช้ในการสื่อสารส่งต่อข้อมูลในการรักษาตลอดจนผู้ป่วยหายกลับออกจากโรงพยาบาล
และเป็นเครื่องมือที่ใช้ในการประเมินคุณภาพการพยาบาล เพื่อเป็นหลักประกันคุณภาพ ตาม
มาตรฐานการปฏิบัติการพยาบาลดังนั้น ทุกฝ่ายจึงให้ความสำคัญในการพัฒนาระบบการบันทึก
ทางการพยาบาลอยู่ตลอดเวลา เพื่อแก้ไขความบกพร้อง ป้องกันความผิดพลาดและพัฒนาให้เป็น
ระดับสากล โดยการมีตัวแทนที่เป็นกรรมการกลาง เพื่อรับนโยบาย แนวทางการแก้ไขปัญหา การ
พัฒนาระบบการบันทึกทางการพยาบาลผู้ป่วย แล้วนำมาแจ้งนโยบายกับหน่วยงาน เพื่อการพัฒนา
นอกจากนี้ โรงพยาบาลมีแผนในการประกันคุณภาพโดยการตรวจเยี่ยมประเมินคุณภาพการบันทึก
ทางการพยาบาลทุก 1 ปี 6 เดือน และในขณะนี้อยู่ในระหว่างการพัฒนาปรับปรุงระบบการบันทึก
ทางการพยาบาลในรูปแบบอิเลคทรอนิค |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.relation.ispartofseries |
งานวิจัยปี2560; |
|
dc.subject |
การจัดการความรู การบันทึกทางการพยาบาลห องฉุกเฉิน |
th_TH |
dc.title |
การจัดการความรู ในการบันทึกทางการพยาบาลผู ป วยในห องฉุกเฉิน Knowledge Management of Focus Charting of Patients in Emergency Room |
th_TH |
dc.type |
Article |
th_TH |