DSpace About DSpace Software
 

Information Retrieval Systems of Research Institute at Saun Sunandha Rajabhat University >
งานวิจัยปีงบประมาณ 2555 >
งานวิจัยภาษาไทย >
แหล่งทุนภายใน ปีงบประมาณ 2555 >

Please use this identifier to cite or link to this item: http://hdl.handle.net/123456789/279

Title: ศึกษาปัจจัยด้านองศาทิศทางของนิ้ว (การวางมือ) และการลงน้้าหนัก ของการกดจุดสัญญาณที่มีผลต่อความรู้สึกของผู้ถูกนวด
Authors: ชาลีผาย, บุญญารัช
ไพศาล, โกมล
เลิศลพ, วิชาญ
พื้นสะอาด, รสสุคนธ์
Keywords: การลงน้าหนัก
ทิศทางนิ้ว (การวางมือ)
ความรู้สึกของผู้ถูกนวด
Issue Date: 20-Jun-2015
Publisher: สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
Series/Report no.: งานวิจัยปี 2555;
Abstract: การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยด้านองศาทิศทางของนิ้ว (การวางมือ) และการลงน้้าหนัก ของการกดจุดสัญญาณที่มีผลต่อความรู้สึกของผู้ถูกนวด กลุ่มตัวอย่างที่ท้าการศึกษา คือ นักศึกษาแพทย์แผนไทยประยุกต์ชั้นปีที่ 3 และ 4 สาขาแพทย์แผนไทยประยุกต์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา รวมทั้งหมด จ้านวน 100 คน เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์มีโครงสร้างที่ผู้วิจัยสร้างขึ้น วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1) กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง ร้อยละ 32 2) กลุ่มตัวอย่างมีความรู้สึกของการนวดกดจุด ในลักษณะการหงายมือท้ามุม 15 และ 45 องศา ด้วยการลงน้้าหนัก (ขนาดของแรง) พบว่า 15 องศา ไม่แตกต่างกัน กับ 45 องศา ด้วยน้้าหนัก 50,70, 90 ปอนด์ แรงจากค่าน้อยไปหาค่ามาก ประสาทรับความรู้สึกของผู้ถูกนวด ไม่สามารถแยกความรู้สึกของการวางมือที่ 15 องศา กับ 45 องศา ได้ 3) กลุ่มตัวอย่างมีความรู้สึกของการนวดกดจุด ในลักษณะการคว่้ามือท้ามุม 15 และ 45 องศา ด้วยการลงน้้าหนัก (ขนาดของแรง) พบว่า15 องศา ไม่แตกต่างกัน กับ 45 องศา ด้วยน้้าหนัก 70, 90 ปอนด์ แรงค่ามาก ประสาทรับความรู้สึกของผู้ถูกนวด ไม่สามารถแยกความรู้สึกของการวางมือที่ 15 องศา กับ 45 องศา ได้ แต่ ในกรณีที่ออกแรงด้วยน้้าหนัก 50 ปอนด์ แรงยังมีค่าน้อย ประสาทรับความรู้สึกของผู้ถูกนวด สามารถแยกความรู้สึกของการวางมือที่ 15 องศา กับ 45 องศา ได้มีแตกต่างกัน อย่างมีนัยส้าคัญทางสถิติที่ระดับ 0.01 4) กลุ่มตัวอย่างมีความพึงพอใจของการนวดกดจุด ในลักษณะการหงายมือท้ามุม 15 และ 45 องศา ด้วยการลงน้้าหนัก (ขนาดของแรง) พบว่าความพึงพอใจของการนวดกดจุด ในกรณีที่ออกแรงด้วยน้้าหนัก 50, 70, 90 ปอนด์ แรงจากค่าน้อยไปหาค่ามาก ระดับความพึงพอใจของผู้ถูกนวด ไม่สามารถแยกระดับความพึงพอใจของการวางมือที่ 15 องศา กับ 45 องศา ได้ 5) ความพึงพอใจของการนวดกดจุด ในลักษณะการคว่้ามือท้ามุม 15 และ 45 องศา ด้วยการลงน้้าหนัก (ขนาดของแรง) พบว่าความพึงพอใจของการนวดกดจุด ในกรณีที่ออกแรงด้วยน้้าหนัก 50, 70, 90 ปอนด์ แรงจากค่าน้อยไปหาค่ามาก ระดับความพึงพอใจของผู้ถูกนวด ไม่สามารถแยกระดับความพึงพอใจของการวางมือที่ 15 องศา กับ 45 องศา ได้
Description: งานวิจัยงบประมาณภายในมหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2555 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
URI: http://hdl.handle.net/123456789/279
Appears in Collections:แหล่งทุนภายใน ปีงบประมาณ 2555

Files in This Item:

File Description SizeFormat
ird_115_55 (1).pdfปก99.61 kBAdobe PDFView/Open
ird_115_55 (2).pdfบทคัดย่อ282.34 kBAdobe PDFView/Open
ird_115_55 (3).pdfAbstract245.66 kBAdobe PDFView/Open
ird_115_55 (4).pdfกิตติกรรมประกาศ359.06 kBAdobe PDFView/Open
ird_115_55 (5).pdfบทที่1300.23 kBAdobe PDFView/Open
ird_115_55 (6).pdfบทที่2459.7 kBAdobe PDFView/Open
ird_115_55 (7).pdfบทที่3291.97 kBAdobe PDFView/Open
ird_115_55 (8).pdfบทที่4467.76 kBAdobe PDFView/Open
ird_115_55 (9).pdfบทที่5281.95 kBAdobe PDFView/Open
ird_115_55 (10).pdfบรรณานุกรม303.61 kBAdobe PDFView/Open
ird_115_55 (11).pdfภาคผนวก300.27 kBAdobe PDFView/Open
ird_115_55 (12).pdfประวัตินักวิจัย297.08 kBAdobe PDFView/Open
View Statistics

Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.

 

Valid XHTML 1.0! DSpace Software Copyright © 2002-2010  Duraspace - Feedback