Information Retrieval Systems of Research Institute at Saun Sunandha Rajabhat University >
งานวิจัยปีงบประมาณ 2561 >
งานวิจัยภาษาไทย >
แหล่งทุนภายใน ปีงบประมาณ 2561 >
Please use this identifier to cite or link to this item:
http://hdl.handle.net/123456789/1332
|
Title: | รูปแบบเทคโนโลยีสารสนเทศสาหรับการตรวจสอบย้อนกลับเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ การส่งออกกล้วยไม้ จังหวัดนครปฐม |
Authors: | ธีรสถิตย์ธรรม, พิมพ์พลอย กิลาโส, สถาปัตย์ ไวยวุฒิธนาภูมิ, พุทธิวัฒน์ สิริกมลศิลป์, ภัสรา |
Keywords: | - - |
Issue Date: | 11-Jan-2019 |
Series/Report no.: | งานวิจัยปี 2561;- |
Abstract: | ปัจจุบัน ระบบการตรวจสอบยอนกลับ (traceability) จึงเปนเครื่องมือชวยลดความเสี่ยง ช่วยให้ผูที่อยูในหวงโซอุปทานสามารถตรวจสอบทราบที่มาของปัญหาไดอย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพ ลดภาระค่าใช้จ่ายอันเกิดจากการตองเรียกผลิตภัณฑ์กลับคืนลงไปไดมาก ทาใหสามารถประหยัดคาใช้จ่ายและรักษาชื่อเสียงของสินค้าหรือผลิตภัณฑเอาไวได การมีระบบตรวจพิสูจนยอนกลับ กอให้เกิดผลดีตอผูมีสวนรวมทุกฝ่ายในห่วงโซ่การผลิต จุดประสงค์ของงานวิจัยชิ้นนี้ คือ เพื่อศึกษารูปแบบเทคโนโลยีสารสนเทศที่เหมาะสมสาหรับการตรวจสอบย้อนกลับการส่งออกกล้วยไม้ไทยและเพื่อออกแบบรูปแบบระบบสารสนเทศที่เหมาะสมสาหรับการตรวจสอบย้อนกลับการส่งออกกล้วยไม้ไทย
โดยประชากรและกลุ่มตัวอย่างสาหรับประเมินความเหมาะสมของระบบสารสนเทศเพื่อการตรวจสอบย้อนกลับพืชผลการเกษตรเพื่อการส่งออกของกล้วยไม้ เป็นกลุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง ซึ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญที่มีความรู้และความชานาญเกี่ยวข้องกับด้านต่างๆในงานวิจัยการออกแบบและพัฒนาต้นแบบระบบสารสนเทศเพื่อการตรวจสอบย้อนกลับพืชผลการเกษตรเพื่อการส่งออกกล้วยไม้ จานวน 4 คน สามารถแบ่งกลุ่มเจาะจงได้ดังนี้ 1.เชี่ยวชาญด้านการตรวจสอบย้อนกลับ 2.ผู้เชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ 3.ผู้เชี่ยวชาญด้านระบบเครือข่ายและโทรคมนาคม 4.ผู้เชี่ยวชาญด้านการส่งออกพืชผลการเกษตร ซึ่งพบว่าผลการประเมินความเหมาะสมของโดยรวมแล้วทุกด้านมีความเหมาะสม |
Description: | งานวิจัยงบประมาณรายได้มหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2561 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
URI: | http://hdl.handle.net/123456789/1332 |
Appears in Collections: | แหล่งทุนภายใน ปีงบประมาณ 2561
|
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.
|