Information Retrieval Systems of Research Institute at Saun Sunandha Rajabhat University >
งานวิจัยปีงบประมาณ 2560 >
งานวิจัยภาษาไทย >
แหล่งทุนภายนอก ปีงบประมาณ 2560 >
Please use this identifier to cite or link to this item:
http://hdl.handle.net/123456789/921
|
Title: | การยกระดับมาตรฐานบรรจุภัณฑ์และตราสัญลักษณ์ ผลิตภัณฑ์สินค้า OTOP สู่ SMEs ในการแข่งขันเชิงพาณิชย์ |
Authors: | ยุกติรัตน์, ชนัญชิดา |
Issue Date: | 30-Oct-2018 |
Series/Report no.: | งานวิจัยปี2560; |
Abstract: | งานวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อการสารวจภูมิปัญญาท้องถิ่นการทาทองม้วนและข้าวแช่ชุมชนท่ายาง ต.ท่ายาง อ.ท่ายาง จ.เพชรบุรี ครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์ เพื่อสารวจลักษณะวิถีชีวิต และเพื่อค้นหาขั้นตอนการผลิตและหาผลกระทบที่มีต่อวิธีชีวิตของชุมชนกลุ่มพื้นบ้านที่ใช้ภูมิปัญญาท้องถิ่นผลิตในการทาทองม้วนของชุมชนท่ายางที่นับวันผู้ผลิตทองม้วนที่มีฝีมือและประสบการณ์เริ่มลดลงทาให้ภูมิปัญญาท้องถิ่นการทาทองม้วนและการทาข้าวแช่อาจสูญหายได้ รวมถึงความนิยมของผู้สนใจในการทาทองม้วนและข้าวแช่ลดน้อยลงทาให้ความต้องการผลิตทองม้วนลงลงตามไปด้วยประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยกาหนดพื้นที่ที่ศึกษาได้แก่ กลุ่มผู้ผลิตสินค้าชุมชน ผู้ประกอบการรายเดียว และSMEs กลุ่มตัวอย่าง ได้จากกลุ่มประชากรผู้ผลิตสินค้า OTOP จานวน 250 ราย ใช้วิธีการสุ่มตัวอย่าง โดยการเปิดตารางของ Krejcie and Morgan (1970 : 607-610) ได้กลุ่มตัวอย่างจานวน 152 ราย แต่ผู้วิจัยได้ส่งแบบสอบถามไป จานวนทั้งหมด 250 ราย และได้เลือกฉบับที่มีความสมบูรณ์และถูกต้องตามระเบียบวิธีวิจัย ได้จานวนทั้งสิ้น 160 รายที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลในครั้งนี้ พื้นที่ศึกษาในการสัมภาษณ์ครั้งนี้ได้เลือกพื้นที่ศึกษาแบบเจาะจง (Purposive Selective) โดยเลือกประชากรผู้ผลิตข้าวแช่และขนมทองม้วนและข้าวแช่ชาววัง ชุมชนท่ายาง ต.ท่ายาง อ.ท่ายาง จ.เพชรบุรี จานวนผู้ผลิต 2 กลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยแบ่งออกเป็น 3 ขั้นตอน ได้แก่ ขั้นตอนที่ 1 ใช้แบบสอบถาม ขั้นตอนที่ 2 การสัมภาษณ์ ขั้นตอนที่ 3 การพัฒนาทดลองการสร้างต้นแบบบรรจุภัณฑ์และตราสัญลักษณ์ ข้อมูลที่เป็นแบบสอบถามผู้วิจัยใช้ข้อมูลแบบมาตราส่วนประมาณค่า (Rating Scale) ใช้วิธีหาค่าเฉลี่ย (x̄ ) และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) ซึ่งมีเกณฑ์ในการกาหนดค่าน้าหนักของการประเมินเป็น 5 ระดับ ส่วนข้อมูลที่ได้จากการสัมภาษณ์และการประชุมกลุ่มย่อยโดยผู้วิจัยได้นาผลจากการวิเคราะห์ข้อมูลจากวัตถุประสงค์นามาเป็นแนวทางในการเชิญผู้เชี่ยวชาญในการประชุมกลุ่มย่อย แล้วนาเสนอในที่ประชุมหลังจากนั้นได้สรุปผลจากการประชุมเป็นรายประเด็น ผลการวิจัยพบว่า
ประสิทธิภาพของบรรจุภัณฑ์ที่มีอยู่ในปัจจุบัน พบว่า โดยภาพรวมอยู่ในระดับน้อย มีค่าเฉลี่ย 2.09 เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า ออกแบบบรรจุภัณฑ์โดยใช้วัสดุ ซึ่งมีคุณสมบัติป้องกันความชื้นและอากาศได้อย่างเหมาะสม มีค่าเฉลี่ย 1.31 อยู่ในระดับน้อยที่สุด (ลาดับที่ 1) รองลงมามีการนาเสนอรายละเอียดของสินค้าที่คู่แข่งขันทาไม่ได้ มีค่าเฉลี่ย 1.38 อยู่ในระดับน้อยที่สุด (ลาดับที่ 2) การแสดงลักษณะด้วยตัวอักษรหรือรูปภาพ มีค่าเฉลี่ย 1.55 อยู่ในระดับน้อย (ลาดับที่ 3) และสินค้ามีความเด่นคือมีความเป็นเอกลักษณ์ที่ผู้บริโภคสามารถจดจาตราสินค้าได้ง่าย มีค่าเฉลี่ย 3.61 อยู่ในระดับมาก สมควรให้การสนับสนุนส่งเสริมพัฒนาต่อยอด
การทาขนมทองม้วนพบว่า สิ่งที่ควรพัฒนาให้ธุรกิจมีความยั่งยืนอยู่ได้สามารถยกระดับไปสู่สานักงานส่งเสริมวิสาหกิจ ขนาดกลาง และขนาดย่อม สสว. SMEs อย่างเป็นระบบ คือ มาตรฐานคงดารงไว้ ดาเนินการของ GMP คือ มาตรฐานอาหาร จากกระทรวงอุตสาหกรรม กิจการยืนอยู่ค่อนข้างดีเนื่องจากมีการค้า โดยการส่งออก และเป็นของทาเก็บไว้ได้นาน และมีลูกค้าประจาค่อนข้างมาก กิจการที่ยืนอยู่ จุดเด่น คือ พยายามพัฒนารูปแบบผลิตภัณฑ์ ให้ทันสมัย และรสชาติคงความอร่อยไว้เสมอ จุดแข็ง คือ มีต้นทุนที่เก็บสะสมไว้มาก และมีการปลูกต้นตาล มะพร้าว ขายเอง กิจการกาลังขยาย โดยการขยายห้องแถว ร้านใหญ่มากขึ้น และกาลังขอมาตรฐาน GMP โดยกรมอุตสาหกรรม กิจการมีเป้าหมายโดยการขยายโรงเรือนให้ได้มาตรฐานและขยายร้านให้ดูน่าเข้ามาอุดหนุนมากขึ้น
จากการทาข้าวแช่ พบว่า สิ่งที่ทาให้ประสบความสาเร็จจนถึงทุกวันนี้ก็ คือ เป็นเอกลักษณ์ของท้องถิ่นมีรสชาติอร่อย ทาด้วยใจรัก ทาอะไรให้ดี มีคุณภาพความซื่อสัตย์ และพัฒนาฝีมือผลิตภัณฑ์อยู่เสมอสิ่งที่ควรพัฒนาให้ธุรกิจมีความยั่งยืนอยู่ได้สามารถที่จะยกระดับไปสู่สานักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.) SMEs อย่างเป็นระบบควรจะมีจริงๆ แล้วตอนนี้ก็เหมือนยกระดับแล้วเพราะว่ามีลูกค้าเยอะ แล้วก็ขยายตัวขึ้นเรื่อย ๆ ก็เหมือนกับยกระดับไปในตัวแล้วตอนนี้กาลังศึกษาข้อมูลอยู่ว่าจะทาอย่างไรถึงจะยกระดับ OTOP ไปสู่ SMEs ได้ และอยากได้โรงเรือนที่ถูกมาตรฐานในการผลิต กิจการยืนอยู่ ณ จุดในปัจจุบันตอนนี้ถือว่าดีในระดับหนึ่งเพราะได้ออกงาน OTOP บ่อย แต่ถ้าดีมากจะเป็นช่วงหน้าเทศกาลต่างๆ กิจการมายืนอยู่ ณ ปัจจุบันได้ คือ มีจุดเด่น ด้านรักษาคุณภาพให้ได้มาตรฐานอยู่เสมอและรสชาติที่ไม่เหมือนใคร คุณภาพของข้าวแช่ชาววัง การคิดแพ็คเกจแบบใหม่ๆอยู่เสมอ และให้เข้ากับเทศกาลต่างๆ กิจการกาลังจะไปไหนจากจุดที่ยืนอยู่ในปัจจุบันก็พยายามที่จะไปให้สูงกว่านี้ ก็มีเป้าหมาย คือ ส่งออกต่างประเทศพัฒนารูปแบบให้ไม่เหมือนใคร เพราะข้าวแช่ชาววังไม่ได้มีเพียงแค่เจ้าเดียว และอยากได้โรงเรือนที่มีมาตรฐานกิจการจะไปยังจุดที่ต้องการ ด้วยวิธีการพัฒนารสชาติใหม่ๆให้ดูแปลกตาแต่ยังคงรสชาติของข้าวแช่ชาววังไว้ มีระบบในการผลิตและวัตถุดิบที่สะอาดถูกสุขลักษณะและอยากให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องเข้ามาช่วยเรื่องโรงเรือน เรื่องเว็บไซต์ออนไลน์ต่างๆ เช่น ทางเฟสบุ๊ค ทางไลน์เพื่อเป็นช่องทางในการจัดจาหน่ายที่เพิ่มขึ้น |
Description: | งานวิจัยงบประมาณแผ่นดิน ปีงบประมาณ 2560 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
URI: | http://hdl.handle.net/123456789/921 |
Appears in Collections: | แหล่งทุนภายนอก ปีงบประมาณ 2560
|
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.
|