dc.contributor.author |
เฉยพ่วง, เตชิต |
|
dc.date.accessioned |
2018-09-20T07:27:39Z |
|
dc.date.available |
2018-09-20T07:27:39Z |
|
dc.date.issued |
2018-09-20 |
|
dc.identifier.issn |
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
|
dc.identifier.uri |
http://hdl.handle.net/123456789/573 |
|
dc.description |
งานวิจัยงบประมาณรายได้มหาวิทยาลัย ปปีงบประมาณ 2558 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
th_TH |
dc.description.abstract |
ษาวรรณคดีเรื่องรามายณะ : กรณีศึกษาเฉพาะตัวละครวงศ์ทศกัณฐ์ โดยใช้ทฤษฎีบุคลิกภาพตามแนวคิดของมายเออร์ – บริกส์ ในการวิเคราะห์ลักษณะตัวละครทั้งในด้านรูปธรรมและนามธรรม พบว่าตัวละครในวงศ์ทศกัณฐ์สามารถแบ่งลักษณะด้านบุคลิกภาพออกเป็น 7 กลุ่ม ได้แก่ 1.1 The Guardian – ผู้คุ้มครอง(Extraversion – Sensing – Thinking – Judging) 1.2 The Executive – ผู้บริหาร(Extraversion – iNtuition – Thinking – Judging) 1.3 The Duty Fulfiller – ผู้ทาสาเร็จ(Introversion – Sensing – Thinking – Judging) 1.4 The Doer – นักปฏิบัติ(Extraversion – Sensing – Thinking – Perceiving) 1.5 The Caregiver – ผู้ให้การดูแล(Extraversion – Sensing – Feeling – Judging) 1.6 The Giver – ผู้ให้(Extraversion – iNtuition – Feeling – Judging)
โดยตัวละครวงศ์ทศกัณฐ์ ที่อาศัยอยู่ในกรุงลงกา ประกอบด้วย บุคลิกภาพ 3 แบบ ซึ่งสามารถแบ่งลักษณะบุคลิกภาพตามลาดับชนชั้นการปกครอง ได้แก่ชนชั้นกษัตริย์ ประกอบด้วย ทศกัณฐ์ ไพนาสุริยวงศ์ชนชั้นนักรบ ประกอบด้วย กุมภกรรณ อินทรชิตและชนชั้นสูงทั่วไป ประกอบด้วยสามะนักขา สุพรรณมัจฉา เบญจกายในขณะที่ตัวละครวงศ์ทศกัณฐ์ ที่มิได้อาศัยอยู่ในกรุงลงกา ประกอบด้วยบุคลิกภาพ 3 แบบ ซึ่งสามารถแบ่งได้ตามบริบททางสังคมของตัวละครนั้น ได้แก่เทพ ประกอบด้วย ท้าวมาลีวราชเสนาธิการ ประกอบด้วย พิเภกและ อัครมเหสี ประกอบด้วย สีดา
โดยการจัดกลุ่มดังกล่าวแสดงให้เห็นว่าบริบททางสังคม เช่น ถิ่นที่อยู่ ตาแหน่งหน้าที่ และผู้ปกครองล้วนมีผลต่อบุคลิกภาพของตัวละครและการแสดงออกจากทางด้านจิตวิทยาทั้งสิ้น |
th_TH |
dc.description.sponsorship |
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.relation.ispartofseries |
งานวิจัย 2558; |
|
dc.title |
วรรณคดีเรื่องรามายณะ : กรณีศึกษาเฉพาะตัวละครวงศ์ทศกัณฐ์ |
th_TH |
dc.type |
Article |
th_TH |