Information Retrieval Systems of Research Institute at Saun Sunandha Rajabhat University >
งานวิจัยปีงบประมาณ 2559 >
ภาษาไทย >
แหล่งทุนภายใน ปีงบประมาณ 2559 >
Please use this identifier to cite or link to this item:
http://hdl.handle.net/123456789/828
|
Title: | ปริมาณความต้องการสินค้าเพื่อควบคุมสินค้าคงคลังของระบบโลจิสติกส์ สาหรับ ธุรกิจค้าส่ง-ค้าปลีกขนาดเล็ก ในเขตกรุงเทพมหานคร : การวิเคราะห์ผลสะท้อนจาก การขยายตัวของธุรกิจค้าปลีกขนาดใหญ่. |
Authors: | ภู่ทอง, บุณยาพร |
Keywords: | - |
Issue Date: | 3-Oct-2018 |
Series/Report no.: | งานวิจัยปี2558; |
Abstract: | การศึกษาวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาการพยากรณ์ปริมาณความต้องการสินค้าเพื่อควบคุม
สินค้าคงคลังกรณีศึกษาธุรกิจค้าส่ง- ค้าปลีก ในเขตกรุงเทพมานคร 2)เพื่อศึกษาลักษณะและประเภทสินค้าที่มี
การควบคุมสินค้าคงคลังของระบบโลจิสติกส์ของธุรกิจค้าส่ง-ค้าปลีก ในเขตกรุงเทพมหานคร3)เพื่อศึกษาถึง
ปัญหาที่เกิดขึ้นและแนวทางสาหรับเสนอแนะต่อการปรับปรุงธุรกิจร้านค้าส่ง-ค้าปลีกขนาดเล็กจากการ
ขยายตัวของธุรกิจค้าปลีกขนาดใหญ่ ในเขตกรุงเทพมหานครเป็นการวิจัยเชิงสารวจ (Survey Research)
ศึกษาวิจัยกลุ่มสาหรับธุรกิจค้าส่ง-ค้าปลีกขนาดเล็ก ในเขตกรุงเทพมหานคร : การวิเคราะห์ผลสะท้อนจากการ
ขยายตัวของธุรกิจค้าปลีกขนาดใหญ่.แบบสอบถาม ถามจานวน จานวน 303 คน กลุ่มตัวอย่างที่กาหนดไว้จาก
ผลการวิจัย พบว่า ความคิดเห็นด้านพบว่า การปฏิบัติงานคลังสินค้าโดยรวมมีค่าเฉลี่ย 4.06 ซึ่งอยู่ในระดับมาก
เมื่อพิจารณาโดยจาแนกตามกิจกรรมการปฏิบัติงานพบว่า กลุ่มตัวอย่างมีการปฏิบัติงานในระดับมากที่สุด
จานวน 1 กิจกรรม คือ กิจกรรมการรับสินค้ามีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.22 และมีระดับการปฏิบัติงานอยู่ในระดับมาก
จานวน 5 กิจกรรม โดยเรียงลาดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อยดังนี้ กิจกรรมการระบุประเภทและการจัดกลุ่มมี
ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.17 กิจกรรมการจัดเก็บสินค้ามีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.04 กิจกรรมการนาสินค้าออกตามใบสั่งมี
ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.02 กิจกรรมการตรวจนับสินค้ามีค่าเฉลี่ยท่ากับ 3.95 และกิจกรรมการรายงานมีค่าเฉลี่ย
เท่ากับ 3.94 เนื่องจากผู้ประกอบการธุรกิจค้าปลี-ค้าส่งมีความคิดเห็นถึงกิจกรรมการรับสินค้าที่เหมาะสม
มากกว่า
ผลการทดสอบสมมติฐาน พบว่า สาหรับการตั้งสมมติฐาน ในงานวิจัยเรื่องปริมาณความต้องการสินค้า
เพื่อควบคุมสินค้าคงคลังของระบบโลจิสติกส์ สาหรับธุรกิจค้าส่ง-ค้าปลีกขนาดเล็ก ในเขตกรุงเทพมหานคร :
การวิเคราะห์ผลสะท้อนจากการขยายตัวของธุรกิจค้าปลีกขนาดใหญ่.พบว่า ตรงตามสมมติฐาน และปริมาณ
ความต้องการสินค้าเพื่อควบคุมสินค้าคงคลังของระบบโลจิสติกส์ สาหรับธุรกิจค้าส่ง-ค้าปลีกขนาดเล็ก ในเขต
กรุงเทพมหานคร : การวิเคราะห์ผลสะท้อนจากการขยายตัวของธุรกิจค้าปลีกขนาดใหญ่.พบว่า ตรงตาม
สมมติฐานต่างกันอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ0.05 |
Description: | งานวิจัยงบประมาณรายได้มหาวิทยาลัย ปีงบระมาณ 2559 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
URI: | http://hdl.handle.net/123456789/828 |
Appears in Collections: | แหล่งทุนภายใน ปีงบประมาณ 2559
|
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.
|