DSpace About DSpace Software
 

Information Retrieval Systems of Research Institute at Saun Sunandha Rajabhat University >
งานวิจัยปีงบประมาณ 2560 >
งานวิจัยภาษาไทย >
แหล่งทุนภายใน ปีงบประมาณ 2560 >

Please use this identifier to cite or link to this item: http://hdl.handle.net/123456789/531

Title: การพัฒนาแบบวัดความฉลาดทางสุขภาวะของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในเขตกรุงเทพมหานคร
Authors: มะหิเมือง, สุชีรา
Keywords: แบบวัดความฉลาดทางสุขภาวะ แบบวัดเชิงสถานการณ์
Issue Date: 20-Sep-2018
Series/Report no.: งานวิจัยปี2557;
Abstract: การวิจัยนี้วัตถุประสงค์เพื่อสร้าง และตรวจสอบคุณภาพแบบวัดความฉลาดทางสุขภาวะของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในเขตกรุงเทพมหานคร วิธีวิทยาการวิจัยประยุกต์จากแนวทางการกาหนดสถานการณ์วิกฤต เพื่อให้ได้สถานการณ์ที่ชัดเจนต่อกลุ่มประชากรวิจัยจนสามารถแสดงความคิด และคุณลักษณะที่จาเป็นต่อการตัดสินใจในการส่งเสริมและคงไว้ซึ่งความมีสุขภาวะที่ดีของตน กลุ่มตัวอย่างการวิจัยคือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 แบ่งเป็นสองกลุ่ม ได้แก่ กลุ่มแรกเลือกโดยวิธีเจาะจงจากโรงเรียนที่มีความสามารถ และคุณลักษณะสูงสุดของโรงเรียนในโครงการโรงเรียนส่งเสริมสุขภาพของกรมอนามัย เป็นกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการรวบรวมสถานการณ์วิกฤต และสร้างข้อคาถามแบบปรนัย 4 ตัวเลือก อีกกลุ่มคือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ของ 6 โรงเรียนที่ได้รับการสุ่มแบบหลายขั้นตอนจากประชากรโรงเรียนสังกัดสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ในเขตกรุงเทพมหานคร 37 โรงเรียน เพื่อใช้ในการตรวจสอบคุณภาพของแบบวัดที่สร้างขึ้น ผลการศึกษาพบว่า แบบวัดสุดท้ายที่สร้างขึ้น ประกอบด้วย 11 สถานการณ์ ที่มีกระทงคาถามปรนัย 4 ตัวเลือก 30 ข้อ โครงสร้างของแบบวัดเน้นตามนิยามของพฤติกรรมความฉลาดทางสุขภาวะที่ประกอบด้วยการเข้าถึง การเข้าใจ การประเมิน การนาไปใช้ และการสื่อสาร ผลการวิเคราะห์คุณภาพของแบบวัดพบว่าสามารถใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ด้วยค่าสถิติที่มีนัยสาคัญดังนี้ 1. อานาจจาแนก จากการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยรายข้อ ของผลการสอบของกลุ่มตัวอย่างที่เป็นกลุ่มสูงแตกต่างจากกลุ่มที่มีค่าเฉลี่ยในกลุ่มต่าสุดอย่างมีนัยสาคัญที่ระดับ .05 จานวน 25 ข้อ 2. การตรวจสอบความเที่ยงเชิงความสอดคล้องภายในด้วย สัมประสิทธิแอลฟาของครอนบาค แสดงให้เห็นว่า คาถามแต่ละตอนมีค่าความเที่ยงค่อนข้างต่าถึงปานกลาง แต่ค่าความเที่ยงรวมทั้งฉบับจัดอยู่ในระดับสูง คือ .7163 3. การพิจารณาด้านความตรงเชิงเนื้อหาด้วยการตรวจสอบและวิเคราะห์ค่าดัชนีความสอดคล้องของความคิดเห็น (IOC) พบว่ามีค่าระหว่าง 0.67-1.00
Description: งานวิจัยงบประมาณมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
URI: http://hdl.handle.net/123456789/531
Appears in Collections:แหล่งทุนภายใน ปีงบประมาณ 2560

Files in This Item:

File Description SizeFormat
7.2 ปกรายงานวิจัย.pdfปก91.96 kBAdobe PDFView/Open
7.1ส่วนหน้า(บทคัดย่อ สารบัญ).pdfส่วนหน้า240.3 kBAdobe PDFView/Open
1.บทที่ 1(1-5).pdfบทที่1257.72 kBAdobe PDFView/Open
2.บทที่ 2วรรณกรรม (6-54).pdfบทที่2489.28 kBAdobe PDFView/Open
3.บทที่ 3 (55-60).pdfบทที่3197.62 kBAdobe PDFView/Open
4.บทที่ 4 (61-69).pdfบทที่4333.35 kBAdobe PDFView/Open
5. บทที่ 5 (70-74).pdfบทที่5251.72 kBAdobe PDFView/Open
6.บรรณานุกรม (75-80).pdfบรรณานุกรม288.76 kBAdobe PDFView/Open
8. ภาคผนวก ก(81-82).pdfภาคผนวก ก.161.23 kBAdobe PDFView/Open
9. ภาคผนวก ข สังเคราะห์เน้ือหาแบบวัด(83-91).pdfภาคผนวก ข.369.91 kBAdobe PDFView/Open
10 บทความวิจัยแบบวัดสุขภาวะ(สุชีรา 6-8-58).pdfบทความวิจัย370.86 kBAdobe PDFView/Open
11.การรับรองตีพิมพ์วารสารศึกษาศาสตร์.pdfการรับรอง190.65 kBAdobe PDFView/Open
12. คำแจ้งข้อมูลการใช้ประโยชน์.pdfประโยชน์230.46 kBAdobe PDFView/Open
13. มคอ.3EDU3701(การวัดผลเอกเทคโนฯ).pdfมคอ224.65 kBAdobe PDFView/Open
View Statistics

Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.

 

Valid XHTML 1.0! DSpace Software Copyright © 2002-2010  Duraspace - Feedback