การพัฒนากระบวนการผลิตน้ำเห็ดเพื่อเป็นเครื่องดื่มด้านสุขภาพ สู่แหล่งเรียนรู้ระบบดิจิทัลสำหรับชุมชน

DSpace/Manakin Repository

การพัฒนากระบวนการผลิตน้ำเห็ดเพื่อเป็นเครื่องดื่มด้านสุขภาพ สู่แหล่งเรียนรู้ระบบดิจิทัลสำหรับชุมชน

Show simple item record

dc.contributor.author สุธาธรรม, อาจารย์ ดร.มณฑารพ
dc.date.accessioned 2019-01-24T09:09:28Z
dc.date.available 2019-01-24T09:09:28Z
dc.date.issued 2019-01-24
dc.identifier.other มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา
dc.identifier.uri http://hdl.handle.net/123456789/1409
dc.description งานวิจัยงบประมาณแผ่นดิน ปีงบประมาณ2561 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา th_TH
dc.description.abstract การศึกษาปริมาณโปรตีน ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ และสารประกอบฟีนอลิกรวม จากการพัฒนาน้ำเห็ดผสมสมุนไพร 3 สูตร ได้แก่ น้ำเห็ดสูตรที่ 1 ประกอบด้วย เก็กฮวย (Dendranthema grandiflora) ใบเตย (Pandanus odorus Ridi) และหญ้าหวาน (Stevia rebaudiana Bertoni) น้ำเห็ดสูตรที่ 2 ประกอบด้วย เก็กฮวย (Dendranthema grandiflora) ใบเตย (Pandanus odorus Ridi) หญ้าหวาน (Stevia rebaudiana Bertoni) และน้ำตาล (Sugar) และน้ำเห็ดสูตรที่ 3 ประกอบด้วย เก็กฮวย (Dendranthema grandiflora) ใบเตย (Pandanus odorus Ridi) และน้ำตาล (Sugar) นำไปวิเคราะห์ปริมาณโปรตีน วิเคราะห์ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ วิเคราะห์ปริมาณสารประกอบฟีนอลิก ซึ่งแบ่งการทดลองออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ น้ำเห็ดทั้ง 3 สูตร ที่ผ่านการฆ่าเชื้อด้วยกระบวนการสเตอริไลซ์เซชัน และน้ำเห็ดทั้ง 3 สูตรที่ไม่ผ่านการฆ่าเชื้อด้วยกระบวนการสเตอริไลซ์เซชัน พบว่า น้ำเห็ดสูตรที่ 1 ที่ไม่ผ่านการฆ่าเชื้อด้วยกระบวนการสเตอริไลซ์เซชันมีปริมาณโปรตีนสูงที่สุด (7906.060 ± 0.368.570) เมื่อทดสอบฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระด้วยวิธี ABTS และ DPPH assay พบว่า น้ำเห็ดสูตรที่ 2 ที่ผ่านการฆ่าเชื้อด้วยกระบวนการสเตอริไลซ์เซชัน มีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระสูงที่สุด (2.849 ± 0.083) และ (0.612 ±0.013) ตามลำดับ โดยมีความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญ ที่ (p > 0.05) และวิเคราะห์ปริมาณสารประกอบ ฟีนอลิก ด้วยวิธี Folin - Ciocalteu พบว่า น้ำเห็ดทั้ง 3 สูตรที่ผ่านการฆ่าเชื้อด้วยกระบวนการ สเตอริไลซ์เซชันไม่มีความแตกต่างกันที่ (p > 0.05) โดยมีค่าเฉลี่ยปริมาณสารประกอบฟีนอลิกเท่ากับ (0.003 ± 0.001) ส่วนน้ำเห็ดทั้ง 3 สูตร ที่ไม่ผ่านการฆ่าเชื้อด้วยกระบวนการสเตอริไลซ์ มีปริมาณสารประกอบฟีนอลิกเท่ากับ (0.002 ± 0.000) ซึ่งไม่มีความแตกต่างกันที่ (p > 0.05) และผลการทดสอบการยอมรับทางประสาทสัมผัสพบว่า ผู้ชิมทั้ง 40 คน ชอบน้ำเห็ดสูตรที่ 3 มากที่สุด ผลการทดลองสรุปได้ว่าการฆ่าเชื้อด้วยกระบวนการสเตอริไลซ์เซชัน และไม่ผ่านการฆ่าเชื้อด้วยกระบวนการสเตอริไลซ์เซชัน ไม่มีความสัมพันธ์ต่อปริมาณโปรตีน ฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ และสารประกอบฟีนอลิกที่ (p> 0.05) th_TH
dc.description.sponsorship มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา th_TH
dc.language.iso th th_TH
dc.relation.ispartofseries งานวิจัยปี 2561;
dc.title การพัฒนากระบวนการผลิตน้ำเห็ดเพื่อเป็นเครื่องดื่มด้านสุขภาพ สู่แหล่งเรียนรู้ระบบดิจิทัลสำหรับชุมชน th_TH
dc.type Article th_TH


Files in this item

Files Size Format View Description
H+01 ปกนอก.docx 75.96Kb Microsoft Word 2007 View/Open ปกนอก
H+02 ปกใน.docx 35.81Kb Microsoft Word 2007 View/Open ปกใน
H+03 บทคัดย่อ ก-ข.docx 33.14Kb Microsoft Word 2007 View/Open บทคัดย่อ
H+04 Absttract.docx 26.05Kb Microsoft Word 2007 View/Open Abstract
H+05 กิตติกรรม.docx 30.20Kb Microsoft Word 2007 View/Open กิตติกรรมประกาศ
H+06 สารบัญรวม.docx 28.20Kb Microsoft Word 2007 View/Open สารบัญ
H+07 สารบัญตาราง ค-ง.docx 32.12Kb Microsoft Word 2007 View/Open สารบัญตาราง
H+08 สารบัญภาพ จ-ฉ.docx 38.54Kb Microsoft Word 2007 View/Open สารบัญภาพ
H01 บทที่ 1 หน้า 1-6.docx 52.97Kb Microsoft Word 2007 View/Open บทที่1
H02 บทที่ 2 หน้า 7-35.docx 1.334Mb Microsoft Word 2007 View/Open บทที่2
H03 บทที่ 3 หน้า 36-47.docx 82.48Kb Microsoft Word 2007 View/Open บทที่3
H04 บทที่ 4 หน้า 48-94.doc 53.95Mb Microsoft Word View/Open บทที่4
H05 บทที่ 5 หน้า 95-108.docx 9.318Mb Microsoft Word 2007 View/Open บทที่5
H06 เอกสารอ้างอิง หน้า 109-111.docx 44.75Kb Microsoft Word 2007 View/Open เอกสารอ้างอิง
H07 ภาคผนวก ก-ค 112-156.docx 5.409Mb Microsoft Word 2007 View/Open ภาคผนวก
H08 ประวัติผู้วิจัย_มณฑารพ 157-174.docx 53.33Kb Microsoft Word 2007 View/Open ประวัตินักวิจัย

This item appears in the following Collection(s)

Show simple item record

Search DSpace


Advanced Search

Browse

My Account