dc.contributor.author |
จันดา, คัทลิยา |
|
dc.date.accessioned |
2018-09-18T07:29:49Z |
|
dc.date.available |
2018-09-18T07:29:49Z |
|
dc.date.issued |
2018-09-18 |
|
dc.identifier.uri |
http://hdl.handle.net/123456789/475 |
|
dc.description |
งานวิจัยงบประมาณรายำด้มหาวิทยาลัย ปีงบประมาณ 2560 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา |
th_TH |
dc.description.abstract |
โรงเรียนในโครงการพระราชดําริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯเขตพื้นที่การศึกษา
นครนายก เป็นโรงเรียนขนาดเล็ก ตั้งอยู่ในพื้นที่ห่างไกล มีความทุรกันดาร มีปัญหาด้านการพัฒนาเชิงพื้นที่
เยาวชนในวัยเรียนขาดโอกาสในการเรียนในระดับที่สูงขึ้น ขาดโอกาสทางการศึกษา ส่งผลต่อปัญหาทาง
สังคมและเศรษฐกิจมากมาย การวิจัยครั้งนี้มุ่งแก้
ปัญหาการศึกษาโรงเรียนในโครงการพระราชดําริ สมเด็จ
พระเทพรัตนราชสุดาฯ เขตพื้นที่การศึกษานครนายก ด้วยการพัฒนาครูเพื่อให้
ครูไปพัฒนาการเรียนการสอน
โดยมีเป้าหมายสูงสุดคือนักเรียนโรงเรียนในโครงการพระราชดําริมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนที่สูงขึ้น นักเรียนได้เรียนรู้
อย่างมีความสุขเป็นการเพิ่มโอกาสทางการศึกษาในแก่เยาวชนในพื้นที่
กิจกรรมการวิจัยเริ่มจากการฝึกอบรมครูประจําการ โรงเรียนในโครงการพระราชดําริ สมเด็จ
พระเทพรัตนราชสุดาฯ เขตพื้นที่การศึกษานครนายก เพื่อเพิ่มโลกทัศน์
และความรู้
เรื่องหลักปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียง และการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการที่สอดคล้องกับภารกิจของครูในการปฏิบัติการสอนใน
โรงเรียนที่ครูสังกัด การฝึกอบรมแบ่งเป็น 4 เรื่องคือ การปฏิรูปการเรียนรู้
และการบูรณาการการเรียนรู้
ตาม
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงและการประยุกต์
ใช้
เพื่อการเรียนการสอน วิธีการเรียนการสอนแบบบูรณา
การ และการเขียนแผนการสอนแบบบูรณาการตามสภาพจริง รวมถึงการประชุมกลุ่มย่อยเพื่อแลกเปลี่ยน
เรียนรู้
การฝึกอบรมครั้งนี้มีครูประจําการสมัครเข้ารับการอบรม จํานวน 154 คน มาจาก 22 โรงเรียน ใน 4
อําเภอของจังหวัดนครนายก
ในเนื้อหาของการฝึกอบรมครูประจําการส่วนใหญ่พอใจกับเนื้อหาสาระของการฝึกอบรมและ
วิทยากรที่ให้
ความรู้
ในเนื้อหาการฝึกอบรม หลังการฝึกอบรมได้
มีการทดสอบความรู้
ด้วยแบบทดสอบพบว่า
ครูประจําการส่วนใหญ่ได้
คะแนนเกินกว่าร้อยละ 75 จึงสรุปได้
ว่าหลังการฝึกอบรมครูประจําการได้
รับความรู้
อย่างดี หลังการฝึกอบรมครูประจําการที่เข้าร่วมโครงการจะต
องกลับไปเขียนแผนการสอนแบบบูรณาการ
เชื่อมโยงกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง โดยเลือกรูปแบบการบูรณาการใน 2 รูปแบบคือ การเขียนแผนการ
สอนแบบบูรณาการภายในวิชา และการเขียนแผนการสอนแบบบูรณาการระหว่างวิชา โดยยึดสภาพจริงที่ครู
ปฏิบัติภารกิจด้านการสอนในโรงเรียนที่ได้
รับมอบหมาย
ภายหลังการฝึกอบรม 2 สัปดาห์
คณะนักวิจัยได้
ลงพื้นที่เพื่อพูดคุยติดตามผลการเขียน
แผนการสอนแบบบูรณาการของครูประจําการในโรงเรียนที่ครูประจําการสังกัด ผลการพูดคุยติดตามผลพบว่า
การเขียนแผนการสอนแบบบูรณาการของครูประจําการเชื่อมโยงกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง แบ่งผลงาน
การเขียนแผนการสอนแบบบูรณาการของครูประจําการเป็น 3 กลุ่มคือกลุ่มครูประจําการที่เขียนแผนการสอน
แบบบูรณาการเสร็จสมบูรณ์
แต2ยังมีความกังวลเรื่องความถูกต้องและความสอดคล้องของแผนการสอน กลุ2ม
ที่ 2 กลุ่มครูประจําการที่เขียนแผนการสอนมีความก้าวหน้าไปมาก โดยมีข
อกังวล ข้อสงสัย และมีความไม่
มั่นใจในบางเรื่อง ทําให้
ไม่กล้าลงรายละเอียด และกลุ2มที่ 3 ผลงานการเขียนแผนการสอนมีความก้าวหน้า น้อย มีความไม่มั่นใจในหลายเรื่อง และมีภารกิจการสอนที่ได้
รับมอบหมายจากทางโรงเรียนมากทําให้
ผลงาน
การเขียนแผนการสอนมีความก้าวหน้าน
อยู่ การพูดคุยติดตามผลของคณะนักวิจัย ทําให้
ครูประจําการมีความ
มุ2งมั่นที่จะเขียนแผนการสอนให้
เสร็จสมบูรณ
โดยเร็ว
ผลการประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน จากการทดลองสอนของครูประจําการ
ที่เข้าร่วมโครงการ พบว่า ผลการเรียนของนักเรียนส่วนใหญ่ได้
คะแนนเกินกว่าร้อยละ 50 มากกว่าคะแนนที่
ครูประจําการเคยใช้
สอนปกติ นอกจากนี้ครูประจําการยังประเมินว่านักเรียนมีความสุข สนุกกับการเรียน
และให้
ความร่วมมือในกิจกรรมการเรียนการสอนอย่างดี เมื่อสอบถามนักเรียนที่เรียนกับครูประจําการที่ใช้
วิธีการสอนดังกล่าว พบว่า นักเรียนมีความสนุก ได้
ความรู้
อยากเรียนรู้
และสามารถนําไปประยุกต์
ใช้
ในชีวิต
ประจําได้
เป็นการเพิ่มโอกาสทางการศึกษาให้
กับเยาวชนในพื้นที่ |
th_TH |
dc.language.iso |
th |
th_TH |
dc.relation.ispartofseries |
งานวิจัย 2560; |
|
dc.subject |
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง , การเรียนการสอนแบบบูรณาการ |
th_TH |
dc.title |
“การประยุกต ใช หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการเรียนการสอนแบบบูรณาการของครูประจําการ โรงเรียนในโครงการพระราชดําริ สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯเขตพื้นที่การศึกษานครนายก |
th_TH |
dc.type |
Article |
th_TH |