Abstract:
|
การดำเนินงานวิจัยครั้งนี้ เป็นการสำรวจเป็นผู้ปฏิบัติงานยึดอาชีพในการผลิตน้ำตาลมะพร้าวซึ่งมีประชากรจำนวน 25 กลุ่ม วิธีการดำเนินงานวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจและเชิงคุณภาพ โดยใช้แบบสอบถาม 5 ตอน ประกอบด้วย ตอนที่ 1 วิถีชีวิตของกลุ่มผู้ผลิตสินค้าที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์จากมะพร้าว ตอนที่ 2 ลักษณะของเทคโนโลยีและสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยในการทำงาน ตอนที่ 3 ปรับปรุงประสิทธิภาพในการบริหารจัดการทัศนคติในของกลุ่มผู้ผลิตสินค้าที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์จากมะพร้าว ตอนที่ 4 การประเมินการเรียนรู้การบริหารจัดการทัศนคติของกลุ่มผู้ผลิตสินค้าที่เกี่ยวข้องกับผลิตภัณฑ์จากมะพร้าว ตอนที่ 5 ข้อเสนอแนะ ลักษณะการวิเคราะห์ข้อมูลเป็นแบบตรวจสอบรายการ (Check List) เลือกวิธีวิเคราะห์ข้อมูลความถี่สรุปเป็นร้อยละ ข้อมูลแบบประมาณค่า (Ratio Scale) เลือกวิธีวิเคราะห์ข้อมูลเป็นค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ข้อมูลแบบปลายเปิด (Opened) เลือกวิธีสรุปความเรียงผลการวิจัยพบว่า
ปัญหาการผลิตและการแหล่งที่มาของวัตถุดิบภายนอกจังหวัด คิดเป็นร้อยละ 77.8 และแหล่งที่มาของวัตถุดิบต่างประเทศคิดเป็น ร้อยละ 22.2 มีความต้องการขยายกำลังการผลิตและไม่ต้องการขยายกำลังการผลิตคิดเป็นร้อยละ 44.4 และอยู่ระหว่างการขยายกำลังการผลิต คิดเป็นร้อยละ 11.2 ไม่ต้องการแรงงาน คิดเป็นร้อยละ 38.9 การผลิตมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมแต่มีการดำเนินการแก้ไขคิดเป็นร้อยละ 44.4 เครื่องมือที่ใช้ในกระบวนการผลิตไม่เพียงพอคิดเป็นร้อยละ 66.7 เครื่องมือที่ใช้ในกระบวนการผลิต ไม่เพียงพอ คิดเป็นร้อยละ 66.7 สภาพเครื่องมือหลักที่ใช้ในการผลิตมีสภาพพอใช้คิดเป็นร้อยละ 61.1 สภาพอุปกรณ์หลักที่ใช้ในการผลิต มีสภาพพอใช้ คิดเป็นร้อยละ 77.7 7 สถานที่จัดเก็บวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิต มีสถานที่เก็บวัตถุดิบคิดเป็นร้อยละ 83.3 กำลังการผลิตต่อความต้องการของลูกค้าเพียงพอ คิดเป็นร้อยละ 77.8 ลักษณะของเทคโนโลยีสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยในการทำงาน พบว่าปเทคโนโลยีการจัดการมีการปฏิบัติงาน มาก มีการจัดแผนกหรือขั้นตอนในการทำงาน คิดเป็นร้อยละ 77.8 และลำดับสุดท้ายมีการจัดหาวัตถุดิบสำรองในการผลิต ท่านได้รับความรู้จากหน่วยงานภายนอกคิดเป็นร้อยละ 5.60 ศึกษา มีการปฏิบัติงานปานกลาง มีการประเมินผลในการทำงานคิดเป็นร้อยละ 77.8 และลำดับสุดท้ายมีการจัดแผนกหรือขั้นตอนในการทำงานคิดเป็นร้อยละ 22.2 ได้รับความรู้จากหน่วยงานภายนอก คิดเป็นร้อยละ 66 และลำดับสุดท้ายมีการจัดเก็บข้อมูลด้านปริมาณการผลิต คิดเป็นร้อยละ 5.60
เทคโนโลยีการผลิตมีการปฏิบัติงานอยู่ในระดับมาก มีการมอบหน้าที่ความรับผิดชอบคิดเป็นร้อยละ 61.1 และลำดับสุดท้ายมีการนำเครื่องจักรมาใช้ในการผลิตคิดเป็นร้อยละ 5.6 มีการปฏิบัติงานอยู่ในระดับปานกลาง มีการปรับเปลี่ยนกระบวนการผลิตคิดเป็นร้อยละ 72.2 และลำดับสุดท้ายมีอุบัติเหตุในการทำงานในรอบ 3 เดือน คิดเป็นร้อยละ 22.2 มีการปฏิบัติงานอยู่ในระดับน้อยมีอุบัติเหตุในการทำงานในรอบ 3 เดือน คิดเป็นร้อยละ 77.8 และลำดับสุดท้ายมีการนำเทคนิคมาใช้ในการผลิต มีการปรับปรุงกระบวนการผลิต มีความต่อเนื่องในกระบวนการผลิต คิดเป็นร้อยละ 5.6
เทคโนโลยีคุณภาพและมาตรฐาน มีการส่งสินค้าเข้าประกวด คิดเป็นร้อยละ 77.8 อยู่ในระดับมาก และลำดับสุดท้าย มีสารเคมีตกค้างในผลิตภัณฑ์ อยู่ในระดับน้อย คิดเป็นร้อยละ 5.6 มีการปฏิบัติงานอยู่ในระดับปานกลางมีการตรวจสอบบรรจุภัณฑ์คิดเป็นร้อยละ 66 และลำดับสุดท้าย มีการตรวจสอบผลิตภัณฑ์ระหว่างการผลิตคิดเป็นร้อยละ 22.2 มีการกำหนดมาตรฐานคุณภาพในการผลิต ได้รับมาตรฐานจากองค์กรที่น่าเชื่อถือคิดเป็นร้อยละ 5.6
เทคโนโลยีการบำรุงรักษามีการปฏิบัติงานมาก มีการตรวจเช็ดอุปกรณ์ก่อนการปฏิบัติงาน คิดเป็นร้อยละ 50 และลำดับสุดท้ายมีการเก็บรวบรวมข้อมูลการบำรุงรักษา คิดเป็นร้อยละ 11.1 มีการปฏิบัติงานปานกลางมีการเก็บรวบรวมข้อมูลการบำรุงรักษาคิดเป็นร้อยละ 72 และลำดับสุดท้ายมีการตรวจเช็ดอุปกรณ์ก่อนการปฏิบัติงาน มีการอบรมในการซ่อมบำรุงเครื่องมือ/เครื่องจักร มีการทำงบประมาณการซ่อมบำรุงมีคู่มือการใช้งานเครื่องมือซ่อมบำรุงที่ถูกต้อง คิดเป็นร้อยละ 38.9 มีการปฏิบัติงานน้อยมีการทำงบประมาณการซ่อมบำรุงคิดเป็นร้อยละ 44.4 และลำดับสุดท้ายมีการดูแลเครื่องมือที่ใช้ในการผลิต มีการทำความสะอาดเครื่องมือก่อนใช้งาน คิดเป็นร้อย 5.6
เทคโนโลยีสิ่งแวดล้อมในการทำงามีการปฏิบัติงานอยู่ในระดับมาก มีปัญหาด้านอุณหภูมิในการทำงาน มีปัญหาด้านความร้อนในการทำงานคิดเป็นร้อยละ 72.2 และลำดับสุดท้าย มีปัญหาด้านมลภาวะทางน้ำคิดเป็นร้อยละ 5.6 ประชากร มีการปฏิบัติงานปานกลางมีการกำจัดขยะมูลฝอยหรือจัดเก็บอย่างถูกวิธีตำแหน่งความเหมาะสมของพื้นที่ในการจัดเก็บขยะ คิดเป็นร้อยละ 55.6 รองลงมา และลำดับสุดท้ายมีมีปัญหาด้านอุณหภูมิในการทำงานคิดเป็นร้อยละ 16.7 มีการปฏิบัติงานอยู่ในระดับน้อย มีปัญหาด้านมลภาวะทางน้ำ มีแรงสั่นสะเทือนที่ส่งผลกระทบต่อการทำงานคิดเป็นร้อยละ 55.6 และลำดับสุดท้ายมีปัญหาด้านความร้อนในการทำงานคิดเป็นร้อยละ 5.6
ในภาพรวมระดับด้านความรู้ในการทำงาน มีระดับปานกลาง ( =2.13, S.D=0.574) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อ พบว่ามีแนวคิดด้านการผลิตและการบริการ อยู่ในระดับมาก( =2.44, S.D =0.511) มีความรู้ในการใช้เครื่องมือและเครื่องจักรอยู่ในระดับปานกลาง( =2.28, S.D =0.461) รองลงมามีความรู้ด้านเทคโนโลยีในการผลิต.( =2.22, S.D =0.0.647) โดยลำดับสุดท้ายมีการศึกษาการออกแบบด้านผลิตภัณฑ์ ( =2.00, S.D =0.686) อยู่ในระดับน้อยที่สุด
ด้านความรู้ในการทำงาน พบว่า ในภาพรวมระดับด้านความรู้ในการทำงาน มีระดับปานกลาง ( =2.24, S.D=0.520) เมื่อพิจารณาเป็นรายข้อพบว่า ในเรื่องความสามารถในการปรับตัวได้เร็ว ความสามารถในการปฏิบัติงาน ความสามารถในการปรับตัวได้เร็ว อยู่ในระดับมาก( =2.50, S.D =0.514) รองลงมาความสามารถในการตรวจสอบประสิทธิภาพ.( =2.39D =0.0.502 ) โดยลำดับสุดท้าย. ความสามารถในการแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้า ( =2.33, S.D =0.485) ความสามารถในการวิเคราะห์และคำนวณอยู่ในระดับปานกลาง( =2.28, S.D =0.461) รองลงมาความสามารถ |